วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ปีที่ ๑๙ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖ สำหรับฉบับนี้มีบทความวิจัยและบทความวิชาการด้านพุทธศาสนาที่น่าสนใจ เช่นบทความวิจัยเรื่อง “ผลการให้การปรึกษาเป็นรายบุคคลตามทฤษฎียึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลางควบคู่กับการฟังบทสวดมนต์ที่มีต่อการลดความเครียดในผู้ป่วยสูงอายุหญิงกระดูกหักที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูกหญิง โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า” เขียนโดย นางสาวธันยมน  อินทร์ทองน้อย บทความวิจัยเรื่อง “รูปแบบการใช้สื่อสร้างสรรค์วิถีพุทธเพื่อพัฒนาท้องถิ่นในบ้านเกิดของเยาวชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” เขียนโดย กมลาศ  ภูวชนาธิพงศ์ และคณะ บทความวิจัยเรื่อง “รูปแบบการพัฒนาเยาวชนจิตอาสาด้วยสื่อสร้างสรรค์ตามแนวพุทธจิตวิทยา” เขียนโดย เรือตรีหญิงจิณห์จุฑา ศุภมงคล บทความวิจัยเรื่อง “วิถีเมืองแห่งความสุขต้นแบบ: การถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาเมืองพหุวัฒนธรรมแห่งความสุข” เขียนโดย พระมหานันทวิทย์ แก้วบุตรดี และคณะ บทความวิจัยเรื่อง “การเสริมสร้างความรักสากลเชิงพุทธบูรณาการ” เขียนโดย จันทร์ธรรม อินทรีเกิด บทความวิจัยเรื่อง “แนวทางการจัดการขยะในชุมชนตามหลักไตรสิกขา” เขียนโดย แม่ชีกฤษณา รักษาโฉม และคณะ บทความวิจัยเรื่อง “ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักสังคหวัตถุ ๔ ของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาอำเภอคลองหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑” เขียนโดย อัศวิน จันตระ เป็นต้น

และปิดท้ายด้วยบทวิจารณ์หนังสือที่ผ่านการพิจารณาจากกองบรรณาธิการ ได้แก่บทวิจารณ์หนังสือเรื่อง “วิวัฒนาการของแนวคิดพุทธเถรวาทในการอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้วายชนม์และบทบาทของวิวัฒนาการในวัฒนธรรมพุทธศรีลังกา เขียนโดย Soorakkulame  Pemaratana” วิจารณ์โดยจุฑารัตน์  คัมภีรภาพ นิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ภาคปกติ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

เผยแพร่แล้ว: 2023-06-21

วิถีเมืองแห่งความสุขต้นแบบ: การถอดบทเรียนเพื่อพัฒนาเมืองพหุวัฒนธรรมแห่งความสุข

ตวงเพชร สมศรี, นักวิจัย สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์, อาจารย์ประจำหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาและการแนะแนว, อาจารย์ประจำหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาสันติศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อาจารย์ประจำภาควิชาการศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษาตลอดชีวิตคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, อาจารย์ประจำหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, อาจารย์ประจำภาควิชาศาสนาและปรัชญา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

1-21