การเสริมสมรรถนะชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู ตามแนวคิดการทบทวนทักษะและการพัฒนาทักษะ

Main Article Content

เกียรติยศ ศุภชัยรัตน์
ชวลิต เกิดทิพย์
วรลักษณ์ ชูกำเนิด

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง การเสริมสมรรถนะชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูตามแนวคิดการทบทวนทักษะและการพัฒนาทักษะ มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอแนวคิดการเพิ่มสมรรถนะของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูด้วยกระบวนการทบทวนทักษะและการพัฒนาทักษะ เป็นการประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีการพัฒนาทรัพยากรบุคคลมาปรับใช้กับการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับบุคลากรครูมีสมรรถนะเทียบทันและตระหนักเห็นความสำคัญในการพัฒนาทางด้านวิชาชีพ ดังนั้น การทบทวนทักษะของครูให้มีความพร้อมสมบูรณ์ถือเป็นพื้นฐานสำหรับสมาชิกในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู และนอกจากการทบทวนทักษะพื้นฐานที่จำเป็น ครูในยุคอนาคตยังต้องใฝ่หาการพัฒนาทักษะที่จำเป็นของครูเพื่อรองรับระบบการศึกษาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โดยการเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพครูให้มีประสิทธิภาพอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ข่าวไทยพีบีเอสออนไลน์. (2562). แนะนำงบประมาณกลางยกระดับการศึกษา. สืบค้นจาก http://www.news.thaipbs. or.th/content/285302

ฉัตรณรงค์ศักดิ์ สุธรรมดี และจินตกานต์ สุธรรมดี. (2560). กรอบแนวคิดการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การในศตวรรษที่ 21. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 12(12), 175-179.

ธัญญลักษณ์ รุ่งแสงจันทร. (2561). การรับมือกับการเปลี่ยนแปลงยคุ 4.0 ของแรงงานไทย. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 26(2), 172-204.

มรกต วงษ์เนตร. (2558). การศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาครูเพื่อการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดของนักเรียนโดยใช้หลักการบริหารวงจรเดมมิ่งในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารวจิ ยั และพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 10(1), 8-10.

Bersin, J., Pelster, B., Schwartz, J., & Van Der Vyver, B. (2017). “Introduction”, Rewriting the rule for the digital age. Deloitte University Press.

Boyatzis, R.E. (1982). The Competent Manager: A model for effective performance, Jonh Wiley & Sons, New York, NY.

Brynjolfsson, E., & McAfee, A. (2012). Race against the machine: How the digital revolution is accelerating innovation, driving productivity and irreversibly transforming employment and the economy. Brynjofsson and McAfee.

Bulkley, K. E., & Hicks, J. (2005). Managing community: Professional community in charter schools operated by educational management organizations. Educational Administration Quarterly, 41(2), 306-348.

Collins, J. (2001). Good to great: Why some companies make the leap… and others don’t. HarperBusiness.

Senge, P., Ross., Smith, B., Roberts, C., & Kleinet, A. (1994). The fifth discipline fieldbook: Strategies and tools for building a learning organization. Doubleday.

Shiffrin, R. M., & Atkinson, R. C. (1969). Storage and retrieval processes in long-term memory. Psychological Review, 76(2), 179-193.

SPRING NEWS Online. (2019). คาดแรงงานไทยตกงานปีหน้าพุ่งถึงห้าแสนคน. Retrieved from http://springnews.co.th/ alive/lifestyle/563519

Tichy, N. M. (1997). The leadership engine: How winning companies build leaders at every level. HarperBusiness.

Uttam Kumar. (2017). Information technology reskilling. Retrieved from https://www.amazon.com/Reskilling-Information-Technology-Uttam-Kumarebook/dp/B07CQYR6Q8