แนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลน์เพื่อความสุขในการเรียนรู้ของผู้เรียนระดับมหาวิทยาลัย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ไวรัสโคโรน่า 19 ทำให้การจัดการเรียนการสอนเปลี่ยนแปลงจากการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนปกติ เป็นจัดการเรียนการสอนผา่ นเทคโนโลยีดิจิทัลหรือออนไลน์เต็มรูปแบบแทนทันทีทันใด ผู้สอนและผู้เรียนไม่ได้เจอหน้ากันโดยตรงเหมือนในห้องเรียนปกติ แต่จะเจอกันผ่านทางเทคโนโลยีดิจิทัลเท่านั้นตามรูปแบบการจัดการเรียนการสอน คือแบบประสานเวลาที่ผู้สอนและผู้เรียนเจอหน้าในเวลาเดียวกันแต่ต่างสถานที่กัน และแบบไม่ประสานเวลาที่ผู้สอนกับผู้เรียนไม่ได้เจอหน้ากัน การจัดการเรียนการสอนที่เปลี่ยนแปลงไปอาจส่งผลต่อความสุขในการเรียนของผู้เรียน และอาจกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันและผลการเรียนในอนาคต บทความฉบับนี้ผู้เขียนจึงได้ศึกษาและเรียบเรียงข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางสำหรับผู้สอนใช้ในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์เพื่อให้ผู้เรียนระดับมหาวิทยาลัยเรียนรู้อย่างมีความสุข อย่างน้อยจนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่สภาวะปกติ ผ่านปัจจัยที่เกี่ยวข้อง คือ ปัจจัยภายในตัวผู้เรียน ได้แก่ ความพอใจ ความภูมิใจ และความสบายใจ และปัจจัยภายนอกตัวผู้เรียน ได้แก่ ด้านผู้เรียน ผู้สอน การเรียนการสอน เนื้อหา สื่อและเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการสอน และด้านการวัดและประเมินผล
Article Details
References
คู่บุญ ศกุนตนาค. (2552). ผลของความสอดคล้องระหว่างแบบการเรียนกับแบบการสอนที่มีต่อความสุขในการ เรียนรู้ของผู้เรียน. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
จินตวีร์ คล้ายสังข์. (2555). อีเลิร์นนิงคอร์สแวร์ : แนวคิดสู่การปฏิบัติสำหรับการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงในทุก ระดับ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555.
จิราภรณ์ สรรพวีรวงศ์ ภัทรกันย์ ติเอียดย่อ จันทนี ปลูกไม้ดี ศรัญญา ทิ้งสุข สุพรรษา สุดสวาท และ กนกพร สงปราบ. (2559). ความสุขของนักศึกษามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. สงขลานครินทร์เวชสาร. ปีที่ 34 ฉบับที่ 5 ก.ย.- ต.ค. 2559.
ใจทิพย์ ณ สงขลา. (2550). E-Instructional Design: วิธีวิทยาการออกแบบการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ศูนย์ตำราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เจียรนัย ทรงชัยกุล. (2557). จิตวิทยาการปรึกษากลุ่มทฤษฎีที่เน้นความคิดและเหตุผล หน่วยที่ 8 จิตวิทยาและ วิทยาการการเรียนรู้. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Designing e-Learning หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการ สอน. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.
ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล และเอกอนงค์ สีตลาภินันท์. (2554). คู่มือสร้างสุขระดับจังหวัด. กรุงเทพฯ: ครีเอทีฟ กูรู.
พิณพนธ์ คงวิจิตต์. (2556). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้รูปแบบการสอนเบรนทาร์เก็ตที่มีต่อ ความสุขในการเรียนและความคงทนในการเรียนรู้ของผู้เรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1. (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต), จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
พิมพ์ประภา พาลพ่าย. (2561). ระบบการออกแบบหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การเล่าเรื่องแบบดิจิทัลใน สภาพแวดล้อมเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความสุขในการเรียน. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรดุษฎี บัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
พรรณี ชูทัย. (2522). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : วรวุฒิการพิมพ์.
มารุต พัฒผล. (2557). การจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้ (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ บริษัท จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จากัด.
ลัดดา หวังภาษิต. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่เสริมสร้างความสุขในการเรียนรู้ของผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาโรงเรียนสาธิตสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี บัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษทิ่ 21. สืบค้นจาก http://www.Noppawan.sskru.ac.th/data/learn _c21.pdf.
วิชุดา รัตนเพียร.(2548). การเรียนการสอนบนเว็บขั้นนำ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วุฒิพงศ์ ถายะพิงค์. (2558). สร้างสุขด้วย 3 ใจ. กรมสุขภาพจิต. สืบค้นจาก http://www.prdmh.com/ข่าวสาร/ ข่าวสาร-กรมสุขภาพจิต/63-เดือน-ธันวาคม-2557/ /61-สร้างสุขด้วย-3-ใจ.html.
ศิรินันท์ กิตติสุขสถิต เฉลิมพล แจ่มจันทร์ กาญจนา ตั้งชลทิพย์ และจรัมพร โห้ลำยอง. (2556). คุณภาพชีวิต การ ทำงานและความสุข. พิมพ์ครั้งที่ 1. นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม. (2561). ผลการสำรวจความสุขคนทำงาน (ในองค์กร). นครปฐม : สถาบันวิจัย ประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย. (2553). ชีวิตในมหาวิทยาลัย. สืบค้นจาก: http://www.apheit.org/2012-07-06-02-16-26.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). ก้าวสู่สหัสวรรษใหม่เด็กไทยเรียนรู้อย่างมีความสุข. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน. (2557). ยุทธการเปลี่ยน ‘ครูเฉย’ สู่ครูยุค ศตวรรษที่ 21. สืบค้นจาก: http://seminar.qlf.or.th/Seminar/Topic/29.
สำราญ สิริภคมงคล. (2554). การพัฒนามาตรวัดความสุขในการเรียนสาหรับผู้เรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
อนิรุทธ์ สติมั่น.(2550) ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ตที่มีต่อการเรียนรู้แบบนำตนเองและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อาทิตยา สีหราช. (2561). การส่งเสริมความสุขในการเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิดด้วยการให้ข้อมูลย้อนกลับในวิชาเคมี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
UNESCO. (2008). Regional Bureau for Educational: Asia and Pacific.
UNESCO. (2017). Promoting Learner Happiness and Well-being: UNESCO Asia-Pacific Education Thematic Brief.
World Economic Forum. (2016). New vision for education: Fostering social and emotional learning through technology.