สภาพพื้นที่และความพร้อมในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ย่านเมืองเก่าตะกั่วป่า อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
บทคัดย่อ
งานวิจัยชิ้นนี้เพื่อศึกษาสภาพพื้นที่และความพร้อมในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน พื้นที่ย่านเมืองเก่าตะกั่วป่า ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสนทนากลุ่ม โดยใช้แนวคิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชนและแนวคิดเรื่องพื้นที่ จากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 14 คน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ พระสงฆ์ ผู้ให้ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คณะกรรมการชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและใช้การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมโดยการนำข้อมูลมาจำแนกหมวดหมู่ ถอดรหัส ตีความและสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่าพื้นที่ชุมชนที่มีความพร้อมจากการสำรวจภาคสนามพบ 2 ชุมชนคือชุมชนตลาดใหญ่ และชุมชนเสนานุชรังสรรค์โดยอิงจากสถานที่ทางประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมเก่าแก่รวมทั้งประเพณี วัฒนธรรมที่ยังคงหลงเหลือผนวกกับความร่วมมือของชุมชน ที่ร่วมกันคิดและความต้องการจิตสำนึกร่วมฝนการอนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถิ่น โดยอาศัยพลังของชุมชนในการสามารถพัฒนาผ่านกระบวนวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบบมีส่วนร่วมจัดเป็นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของตะกั่วป่าต่อไป
References
สิรินธร (องค์การมหาชน).
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2542). การพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืน. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่.
ปรัชญาพร พัฒนผล. (2554). การพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยววัฒนธรรมแม่น้าเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ.
พันธ์ทิพย์ รามสูตร. 2540. การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน :
มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ.
สำนักงานพาณิชย์จังหวัดพังงา. (2556). เอกสารแนะนำย่านธุรกิจสร้างสรรค์ (แผ่นพับ). พังงา : สำนักงานพาณิชย์
จังหวัดพังงา.
สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพังงาและเทศบาลเมืองตะกั่วป่า. (ม.ป.ป). เอกสารแนะนำตะกั่วป่าเมืองประวัติศาสตร์.
พังงา : สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดพังงาและเทศบาลเมืองตะกั่วป่า.
สุภางค์ จันทวานิช. (2537). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ.(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
อุทิศ สังขรัตน์. (2560). พื้นที่อันเป็นวิถีวัฒนธรรมชุมชน.ค้นเมื่อ 13 ธันวาคม 2560 จาก http://webcache.
googleusercontent.com/search?q=cache:q4ueSzPKKpAJ:www.ysl-history.com/Synthe
sis/002.doc+&cd=1&hl=th&ct=clnk&gl=th
Coleman, J.L. (1988). The Foundations of Constitutional Economics. Cambridge : Cambridge Uni
versity Press.
Feilden, B.M.;& J. Jokilehto. (1998). Management Guidelines for World Heritage Sites. Rome: n.p.
Seidel, H. (1991). The Social Significance of Higher Education. Paris UNESCO. New York : McGraw-Hill.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
ลิขสิทธิ์ ในการตีพิมพ์บทความ
จะโชว์ตอนที่ ผู้ส่งบทความ ตีพิมพ์ ต้องกด accept