การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง

Main Article Content

จีรวรรณ เกิดร่วม

บทคัดย่อ

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียน กลับด้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านที่ส่งผลต่อการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนช้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง กลุ่มเป้าหมายวิจัยจำนวน 28 คน ปีการศึกษา 1/2565 โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบ แบบประเมินการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสอบถามปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน


ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้าน เท่ากับ 88.10/93.82 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 ที่กำหนดไว้ 2) ผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านมีผลต่อการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ ในรายด้าน
1. ด้านการกำหนดปัญหา/ประเด็นที่สนใจและความสัมพันธ์กับการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูง (equation =3) 2. ด้านกระบวนการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูง (equation = 2.76) 3. ด้านการนาเสนออยู่ในระดับสูง (equation = 2.71) 4. ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อยู่ในระดับสูง (equation = 2.61) และผลการคิดเชิงนวัตกรรม
ทางด้านวิทยาศาสตร์ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง (equation =2.77)

Article Details

How to Cite
เกิดร่วม จ. (2024). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานร่วมกับแนวคิดห้องเรียนกลับด้านเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงนวัตกรรมทางด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 35(3), 193–210. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsu/article/view/266177
บท
บทความวิจัย

References

Brahmawong, C. (2012). Developmental Testing of Media and Instructional Package. Silpakorn Educational Research Journal, 5(1), 7-20. [in Thai]

Buason, R. (2019). Research and development of educational innovations. Chulalongkorn University Publisher. [in Thai]

Inthason, S. (2020). COVID - 19 and Online Teaching case study: Web Programming Course. Journal of Management Science Review, 22(2), 203-214. [in Thai]

Joyce, B., Weil, M. & Calhoun, E. (2011). Model of Teaching. (8th ed.). Allyn & Bacon.

Kankaew, R. Sompong, N. & Rampai, N. (2020). Development of flipped classroom learning model by using creativity-based learning to enhance product creative skill of undergraduate students in communication arts. NRRU Community Research Journal, 14(2),189-203. [in Thai]

Khammanee, T. (2013). Teaching methods: Knowlesge for organization and effective learning process. (17th ed.). Chulalongkorn University Publisher. [in Thai]

Matichon Online. (2021). Bangkok allows affiliated schools to organize 5 teaching. Formats. https://www.matichon.co.th/education/news_2719151 (in Thai)

Office of the Education Council. (2018). Education in Thailand 2018. Phrik Wan Graphic. [in Thai]

Phinyosinwat, P. (2020). How to organize teaching and learning in the COVID-19 situation: from Foreign lessons for Thai learning management. https://tdri.or.th/2020/05/examples-of- teaching-and-learning-in-covid-19-pandemic/ [in Thai]

Pimwan. C. (2020). The Open-ended Inquiry Process of Flipped Classroom for High-Order Thinking Skills Enhancing of the 11th Grade Students. [Master’s thesis, Rajabhat Maha Sarakham University]. [in Thai]

Riangnarong, M. & Silanoi, L (2015). The Development of Grade 7 Students’ 21st Century Learning and Achievement Through Creativity-Based Learning (CBL) in the S21103 Social Studies Subject. Journal of Education Khon Kaen University, 38(4), 141-148. [in Thai]

Sitthisaman, S. (2020). Advantages: COVID-19 helps reform education!. https://mgronline.com/qol/detail/9630000029994 [in Thai]

Srisutham, W. (2019). The Development of Students’ Creative Problem Solving and Learning Achievement of 10th Grade Students by Creativity Based Learning Approach. [Master’s thesis, Rajabhat Maha Sarakham University]. [in Thai]

Teerawattananon, B., Thamma, D & Onchawiang, D. (2020). The Development of Flippe Classroom Online Instruction on Creating Graphic by Presentation Program for Primary Students. e-Journal of Education Studies, Burapha University, 2(2), 16-30. [in Thai]

Teevasuthornsakul. C. (2017). Physics Instructional Model Development in Undergraduate Level with Mastery Learning and Flipped Classroom Approach to develop the Analysis Thinking. (Research report). The Research supported by Grant of Burapha university through National Research Council of Thailand (Grant no.116/2561), Burapha University Chanthaburi Campus. [in Thai]

The Institute for the Promotion of Teaching Science and Technology (IPST). (2017). Course user manual basic science course. Office of the Welfare Promotion Commission for Teachers and Educational Personnel Publisher, Lat Phrao, Bangkok. [in Thai]

Udomseth, K., Suwanntthachote, P. & Natakuatoong, O. (2017). The development of flipped classroom learning instructional design model on TPACK framework and elaboration theory for secondary school teachers under office of the private education commission. Journal of education Naresuan University, 19(4), 24 -38. [in Thai]