การพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

Main Article Content

พิศาพิมพ์ จันทร์พรหม
นพรัตน์ เตชะพันธ์รัตนกุล
วิยะดา มีศรี
กฤต พันธุ์ปัญญา

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เลือกประชากรแบบเจาะจง คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา GEBIN701 Problem Solving and Thinking Process ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จานวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยแผนการสอน จำนวน 8 แผน แบบประเมินทักษะการสื่อสารนวัตกรรม แบบสัมภาษณ์อย่างมีโครงสร้าง และการสนทนากลุ่มย่อย กับกลุ่มเป้าหมายเพื่อสอบถามความคิดเห็นต่อการพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาที่ได้รับการพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการและได้รับการประเมินทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตามตัวชี้วัด แผนการเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรม
โดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการ ประกอบด้วย การประเมินก่อนเรียน โดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการ ประกอบด้วย การประเมินก่อนเรียน กิจกรรม 8 กิจกรรม มีการประเมินตามสภาพจริงในแต่ละกิจกรรม และการประเมินหลังเรียน ปรากฏว่า ดัชนีประสิทธิผลของการพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา มีค่าเท่ากับ 0.5069 หมายความว่า นักศึกษามีทักษะการสื่อสารนวัตกรรมเพิ่มขึ้นร้อยละ 50.69

Article Details

How to Cite
จันทร์พรหม พ., เตชะพันธ์รัตนกุล น. . ., มีศรี ว. . ., & พันธุ์ปัญญา ก. (2024). การพัฒนาทักษะการสื่อสารนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการคิดแบบบูรณาการของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 35(3), 178–192. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsu/article/view/265875
บท
บทความวิจัย

References

AbuSeileek, A. (2007). Cooperative vs. Individual Learning of Oral Skills in a Call Environment. Computer Assisted Longuage Learning, 20, 493-514. http://dx.doi.org/10.1080/09588220701746054

Balkcom, S. (1992). Cooperative learning. Education Research Consumer Guide, 1. http://www.ed.gov/pubs/OR/ConsumerGuides/Cooplear.html

Bellanca, J. & Brandt, R. (2011). 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. (Wongkitrungruang, W. & Jitrerk, A., Translator). Openworlds.

Buathong, S. (2017). Measuring and assessing 21st-century learning skills. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(2), 1856-1867.

Chansoor, N. & Poonsil, T. (2023). The effects of integrating STEM education with project-based learning on developing creativity and critical thinking in chemistry education students. Journal of Education, Prince of Songkla University, Pattani Campus, 34(3), 165-181.

Jaroonkiattikul, S. (2018). 21st-century skills. True Education Articles: True Pookpanya. https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/66054

Kaemmani, T. et al. (2001). The science of thinking. Academic Quality Development Institute.

Kaemkedu, W. (2012). Methodology in behavioral research. (3rd ed.). Chulalongkorn University Press.

Khumpirapang, C., P., Makhmi, K., Manelek, R., & Fu Saeng, S. (2017). A model for fostering 21st-century change leadership among directors of policy and planning under the Office of the Basic Education Commission. Pikhanesawara Journal, 13(2), 149-161.

McKeown, M. (2008). The truth about innovation. Prentice Hall.

Meepradit, K. (2019). Characteristics of graduates in the 21st century and general education subjects. In Proceedings of the 14th National and International Conference of Sripatum University. December 19, 2019.

Pattanaka, N. & Suikradueang, N. (2021). A study of perceptions, practices, problems, and strategies for promoting realistic assessment of teachers under the Mahasarakham

Phanitch, V. (2012). Pathways to create learning for students in the 21st century. (2nd ed.). Sodsri Suriyamart Foundation.

Phanitch, V. (2017). Learning for change: Transformative learning. (2nd ed.). Siam Kammachat Foundation.

Slavin, R. E. (1995). Cooperative learning: Theory, research, and practice (2nd ed.). A Simon & Schuster.

Tangthanakanon, K. (2006). Realistic assessment. Journal of Education, 34(3).

Wagner, T. (2010). The global achievement gap: Why even our best schools don't teach the new survival skills our children need—and what we can do about it. http://www.amazon.com/The-Global-Achievement-Gap-Need/dp/0465002307