การพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์

Main Article Content

ตฤณลักษณ์ รุจนิสรกุล
นิพันธ์ ประวัติเจริญวิทย์
เอกบุตร ศิริจำปา
สมภพ ทองปลิว
ศุภกร สุเมธาภิวัฒน์
เนาวรัตน์ มานิตเจริญ
สุธาวาส จันทร์เรือง
ทัตพล ศิริประภารัตน์
ชูเกียรติ ศักดิ์สุรกานต์
ศรีอัมพร เร่บ้านเกาะ

บทคัดย่อ

     วัตถุประสงค์ในการวิจัย 1) เพื่อพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนผ่านสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์ก่อนและหลังเรียน 3) เพื่อวัดผลความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์ โดยกลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษาระดับปริญญาตรีของวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้าพระนครเหนือ เนื้อหาวิชาแคลคูลัส 1,2 โดยทำเป็นบทเรียนย่อย ๆ มีการบรรยาย เนื้อหา แบบฝึกหัดให้ทำระหว่างเรียน แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน มีอาจารย์ผู้ร่วมพัฒนาบทเรียนออนไลน์นี้จำนวน 10 ท่าน


ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าประสิทธิ์ภาพจากการพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์ ได้ค่า 82.76/84.98 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนออนไลน์ของสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์ โดยมีค่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3) ค่าระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนผ่านสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์ ได้ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (X = 4.34, SD. = 0.79) ซึ่งผลวิจัยที่ออกมาเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้และยังได้สอบถามนักศึกษาในกลุ่มตัวอย่าง พบว่าการจัดอาจารย์ผู้สอนที่มีหลายคนทำให้ทราบเทคนิคการเรียนรู้การทำโจทย์หลากหลาย

Article Details

How to Cite
รุจนิสรกุล ต. ., ประวัติเจริญวิทย์ น. ., ศิริจำปา เ., ทองปลิว ส. ., สุเมธาภิวัฒน์ ศ. ., มานิตเจริญ เ. ., จันทร์เรือง ส. ., ศิริประภารัตน์ ท. ., ศักดิ์สุรกานต์ ช. ., & เร่บ้านเกาะ ศ. . (2024). การพัฒนาสื่อบทเรียนออนไลน์ระดับปริญญาตรีวิชาคณิตศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 35(3), 168–177. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsu/article/view/265837
บท
บทความวิจัย

References

Bilbai, S. (2014). Educational innovation and information technology. Teaching Publications. [in Thai]

Bleess, C., Higson-Smith, C., & Kagee, A. (2006). Fundamentals of social research methods: an African Perspective. (4th ed.). Juta and Co.Ltd.

Buakaew, P. (2016). Creation and efficiency of E-Learning lessons for ID291, Fundamentals of Interior Design 1, Bachelor of Fine Arts Program, 11th National and International Academic Conference, Sripathum University. [in Thai]

Butyathawon, P. (2020). Development of learning achievement of students using two-way teaching model with Microsoft Teams program on the topic of cells of living things, Basic Biology (W301112) at Mathayom 4 level. www.thaiedreserch.org [in Thai]

Klaysang, J. (2010). Research project on website format and electronic lesson format suitable for e-learning teaching in higher education. Higher Education Commission, Ministry of Education. [in Thai]

Lampensa, P. (2016). Quality assessment of measurement and evaluation tools. Faculty of Education, Yala Rajabhat University. [in Thai]

Saisakon, S. (2020). Development of online teaching media for the main subject of economics. Office of Vocational Education, Ministry of Education. [in Thai]

Wachanawisit, T. (2014). Development of e-learning on Information Technology course, Keokarun Faculty of Nursing. Keokarun Journal of Nursing, 21(1), 100-113. [in Thai]

Zhao, Y. (2007). Social studies teacher’s perspectives of technology integration. Journal of Technology and Teacher Education, 15(3), 311-333.