การศึกษาตัวบ่งชี้ทักษะการคิดเพื่อจัดการชีวิต สู่ความสำเร็จในเด็กปฐมวัย อายุ 5-6 ปี

Main Article Content

ณัฏฐ์รดา ไชยอัครพงศ์
ฐิติพร พิชญกุล
กันต์ฤทัย คลังพหล
กันต์ฤทัย คลังพหล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบของทักษะการคิดเพื่อจัดการชีวิตสู่ความสำเร็จ และพัฒนา
เครื่องมือประเมินทักษะการคิดเพื่อจัดการชีวิตสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างคือ เด็กอายุ 5-6 ปี ของโรงเรียนในสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนที่มีระดับปฐมวัย ใน 6 ภาคของประเทศไทย จำนวน 470 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนแบบแผนการวิจัยเป็นแบบผสมวิธีแบบขั้นตอนเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบประเมินทักษะการคิดเพื่อจัดการชีวิตสู่ความสำเร็จในเด็กปฐมวัย และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันอันดับสองผลการวิจัยพบว่า ทักษะการคิดเพื่อจัดการชีวิตสู่ความสำเร็จในเด็กปฐมวัย อายุ 5-6 ปี มี 5 องค์ประกอบ 16 ตัวบ่งชี้ ซึ่งมี
ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (χ2) มีค่าเท่ากับ 28.95 ที่องศาอิสระ (df) 97 ค่าระดับนัยสำคัญทางสถิติ (p) เท่ากับ 1.00 ค่าไค-สแควร์ สัมพัทธ์ (χ2/df) มีค่าเท่ากับ 0.30 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (GFI) มีค่าเท่ากับ 0.99 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (AGFI) มีค่าเท่ากับ 0.99 ค่าราก
กำลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.00 ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือใน
รูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized RMR) เท่ากับ 0.02 และค่าความเชื่อมั่นของแบบประเมินทั้งฉบับ เท่ากับ 0.97

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Chaiakaraphong, N., Pichayakul, T., & Klangphahol, K. (2020). A study of the components of musical experiential model to enhance executive function skills for early childhood students. Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University, 14(3), 65-76. [in Thai]

ณัฏฐ์รดา ไชยอัครพงศ์, ฐิติพร พิชญกุล และ กันต์ฤทัย คลังพหล. (2563). การศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการจัดประสบการณ์ดนตรีที่ส่งเสริมทักษะการคิดเพื่อจัดการชีวิตสู่ความสำเร็จในเด็กปฐมวัย. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(3), 65-76.

Chaiakaraphong, N., Pichayakul, T., Klangphahol, K., & Chinnapong, P. (2021). Development of musical experiential model to enhance executive functions of early childhood. Kasetsart Journal of Social Sciences, 42(2021), 564-570. https://doi.org/10.34044/j.kjss.2021.42.3.17

Chaiyothir, M., Chanurai, N., & Surat, M. (2020). The indicators development of student’s characteristics Mathayom 2 in the 21st century of Nongkhai Province. Journal of Research and Development Institute, Chaiyaphum Rajabhat University, 2(2), 45-58. [in Thai]

มณีรัตน์ ไชยโยธีร์, นครชัย ชาญอุไร และ มณีญา สุราช. (2563). การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในศตวรรษที่ 21 ของจังหวัดหนองคาย. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 2(2), 45-58.

Chano, C., & Sripong-ngam, T. (2019). A study on the development of executive functions in young children. Journal of Education Khon Kaen University, 42(3), 111-118. [in Thai]

จิระพร ชะโน และ ธนารัตน์ ศรีผ่องงาม. (2562). การศึกษาพัฒนาการด้านการคิดเชิงบริหารของเด็กปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42(3), 111-118.

Chutabhakdikul, N., Thanasetkorn, P., Lertwasdatrakul, O., & Ruksee, N. (2017). Tool development and evaluation criteria for assessment of executive function in early childhood. Mahidol University. https://doi.nrct.go.th//ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/MU.res.2017.7 [in Thai]

นวลจันทร์ จุฑาภักดีกุล, ปนัดดา ธนเศรษฐกร, อรพินท์ เลิศอวัสดาตระกูล และ นุชนาฎ รักษี. (2560). การพัฒนาและหาค่าเกณฑ์มาตรฐานเครื่องมือประเมินการคิดเชิงบริหารในเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยมหิดล. https://doi.nrct.go.th//ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/MU.res.2017.7

Creswell, J., & Plano Clark, L. V. (2018). Designing and conducting mixed methods research. (third edition). SAGE.

Hair, F. J., Black, B., Babin, B., Anderson, E. R., & Tatham, L. R. (2006). Multivariate data analysis (sixth edition). Pearson.

Kanchanawasri, S. (2012). Applied statistics for behavioral research (sixth edition). Chulalongkorn University. [in Thai]

ศิริชัย กาญจนวาสี. (2555). สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 6). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Klangphahol, K. (2018). Educational research methodology. Valaya Alongkorn Rajabhat University. [in Thai]

กันต์ฤทัย คลังพหล. (2561). วิธีวิทยาการวิจัยการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

Palawan, K., Horadal, A., & Chatthai, T. (2022). The development of a learning package for caregivers on developing emotional quotient of preschool children at child development centers under the Local Government Organizations in Satun Province. Journal of Information and Learning, 33(1), 35-43. https://doi.org/10.14456/jil.2022.4 [in Thai]

เกสร ปะลาวัน, อรุณี หรดาล และ ทัศนีย์ ชาติไทย. (2565). การพัฒนาชุดการเรียนรู้สำหรับครูผู้ดูแลเด็ก เรื่อง การพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. Journal of Information and Learning, 33(1), 35-43. https://doi.org/10.14456/jil.2022.4

Randsiyanon, K., Intamara, P., Pienpiemsin, S., Wanasut, S., & Thinarat, S. (2019). Teacher and parent guide EF brain skills enhancement for early childhood. Pelangi Publishing. [in Thai]

ขวัญฟ้า รังสิยานนท์, พรรัก อินทามระ, ศศิพันธุ์ เปี๊ยนเปี่ยมสิน, ศีลสุภา วรรณสุทธิ์ และ ศิริพงษ์ ทิณรัตน์. (2562). คู่มือครูและผู้ปกครอง การเสริมสร้างทักษะสมอง EF สำหรับเด็กปฐมวัย. เพอลังอิ พับลิชชิ่ง.

Saengsawang, T., Langka, W., & Semheng, S. (2016). A development of executive function skills indicators for elementary students. BU Academic Review, 15(1), 14-28. [in Thai]

ฐาปณีย์ แสงสว่าง, วิไลลักษณ์ ลังกา, ดารณี อุทัยรัตนกิจ และ สุวพร เซ็มเฮง. (2559). การพัฒนาตัวบ่งชี้ทักษะการบริหารการรู้คิด อารมณ์ และพฤติกรรม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. BU Academic Review, 15(1), 14-28.

Schumacker, E. R., & Lomax, G. R. (2016). A beginner’s guide to structural equation modeling. Routledge.

United Nations Educational, Scientific and Cultural Organization. (n.d.). Early childhood care and education. UNESCO. https://en.unesco.org/themes/early-childhood-care-and-education

Westland, C. J. (2010). Lower bounds on sample size in structural equation modeling. Electronic Commerce Research and Application, 9(6), 476-487. https://doi.org/10.1016/j.elerap.2010.07.003