การจัดการเรียนรู้แบบ Biomimicry Design Spiral: สะเต็มศึกษาในห้องเรียนชีววิทยา

Main Article Content

มุสตากีม อาแว
เสฐียรพงษ์ ดวงรัตนเอกชัย
ชาตรี ฝ่ายคำตา
พงศ์ประพันธ์ พงษ์โสภณ

บทคัดย่อ

ความท้าทายประการหนึ่งของการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาชีววิทยายุคใหม่ คือ การเปลี่ยนผ่านจากการมุ่งเน้นการอธิบายปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ ไปสู่ยุคของการใช้เทคโนโลยีในการสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อแก้ปัญหาท้าทาย ผู้สอนจึงจำเป็นต้องเรียนรู้แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่มีลักษณะเฉพาะตัว มีการประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ ผ่านกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรม ซึ่งเป็นแนวการสอนรูปแบบหนึ่งของสะเต็ม บทความฉบับนี้จึงมุ่งเน้นเผยแพร่วิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบใหม่ ที่ปลูกฝังการออกแบบทางวิศวกรรมในรายวิชาชีววิทยา คือ การจัดการเรียนรู้แบบ Biomimicry Design Spiral (BDS) ที่นำเอาองค์ความรู้เฉพาะทางชีววิทยา (การศึกษาสิ่งมีชีวิต) มาปรับเป็นฐานในการสร้างแรงบันดาลใจ เพื่อประดิษฐ์นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา นอกจากนี้ยังเป็นการอธิบายลักษณะเฉพาะของการจัดการเรียนรู้แบบ BDS ตลอดจนตัวอย่างกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะสามารถเป็นตัวอย่างสำหรับการประยุกต์ใช้ในห้องเรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไปได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Biomimicry Institute. (2017). Biomimicry Design Spiral. http://toolbox.biomimicry.org/

Council of Canadian Academies. (2015). Some Assembly Required: STEM Skills and Canada’s Economic Productivity. Ottawa: Council of Canadian Academies.

Faikhamta, C., Awae, M., Suknarusaithagul, N., & d Mutcha, P. (2023). Research Trends in STEM Education in Thailand. CMU Journal of Education, 7(1), 29-43. [in Thai]

Gerhard, F. S. (2012). Bioinspiration and Biomimicry in Chemistry Reverse-Engineering Nature. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc.

Gardner, G. E. (2012). Using Biomimicry to Engage Students in a Design-Based Learning Activity. The American Biology Teacher, 74(3), 182-184.

Michael, J. M. (2012). Biomimicry: Using Nature as a Model for Design. [Master’s thesis, University of Massachusetts]. ScholarWorks.

Ministry of Education. (2017). Indicators and Content Areas in Science (Revised Curriculum A.D. 2017) According to Basic Education Core Curriculum B.E. 2551 (A .D. 2008). Bangkok, Thailand: The Agricultural Co–operative Federation of Thailand. [in Thai]

National Research Council. (2012). A Framework for K-12 Science Education: Practices, Crosscutting Concept, and Core Ideas. Washington, DC: National Academy Press.

Supphaka, N. (2010). “Biomimicry”. Bio & Nano Journal, 37(213), 32-36. [in Thai]