แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

อัจฉรา นิยมาภา
วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากรอบแนวคิดภาวะผู้น􀄞ำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา และ 4)ประเมินแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 202 คน ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินกรอบแนวคิด จำนวน 5 คน ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นนดิจิทัล จำนวน 9 คน และ ผู้บริหารสถานศึกษานำแนวทางการพัฒนาสู่การปฏิบัติ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมิน แบบสอบถาม และคู่มือการพัฒนา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการศึกษากรอบแนวคิดภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ การสื่อสาร การประชาสัมพันธ์ การสร้างภาพลักษณ์ การเรียนรู้ของผู้เรียน การพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ การปรับสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ และการสร้างโอกาส 2) ผลการศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ความต้องการจำเป็นสูงสุด 3 ลำดับ เรียงตามลำดับดังนี้ การเรียนรู้ของผู้เรียน การพัฒนาสู่ความเป็นมืออาชีพ และการสร้างโอกาส 3) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า ประกอบด้วยแนวทางการพัฒนา 5 องค์ประกอบ คือ วัตถุประสงค์การพัฒนา สาระการพัฒนา กระบวนการ
พัฒนา สื่อการพัฒนา และการวัดและการประเมินผลการพัฒนา 4) ผลการประเมินแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย
Author Biography

วิสุทธิ์ วิจิตรพัชราภรณ์, คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

major of Educational Administration Kasetsart University

References

Chamchoy, S. (2018). School management in the digital age. Bangkok: Chulalongkorn University Press. [in Thai]

DuBrin, J. Andrew. (2010). Principles of Leadership. Canada: South-Western.

Hair, J. F., et al. (2010). Multivariate data analysis (7th ed.). Upper Saddle River, New Jersey: Pearson Education, Inc.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement, 30, 607-610.

Loa-Learndi, W., Kitrungraung, P., & Sirisamphan, O. (2017). Active learning instructional strategies for thinking development and educational improvement of 21st century. Nakhonpathom: Phetkasem Printing Group. [in Thai]

Office of the Education Council. (2012). Guidelines for the development of Thai education and preparation for the 21st century. Bangkok: Prigwhan Graphic.

Pakothang, J. (2018a). Leadership in the digital age for professional administrators. Ubon Ratchathani: Siritham Offset. [in Thai]

Pakothang, J. (2018b). Strategies in developing professional administrators in the 21st century for school under the Office of the Basic Education Commission. Journal of Educational, Mahasarakham University, 12(1), 57-72. [in Thai]

Panich, V. (2012). Ways to create learning for students in the 21st century. Bangk ok: Tathata Publication. [in Thai]

Phongsiri, N. (2017). Leaders in the digital economy. HR Society Magazine, 15(172), 20-23.

Rooncharoen, T. (2019). The direction of learning management towards education 4.0 in the digital age. Collection of articles on educational administration and the development of learning management of education in digital era, set 1. Ubon Ratchathani: Witthaya Printing 1973. [in Thai]

Sinlarat, P. (2014). Skills of the 21st century must overcome the trap of the W est. Bangkok: College of Education Dhurakij Pundit University. [in Thai]

Sudte, M., Kamonvoradej, Y., & Sanghirun, M. (2020). Academic leadership in digital age expanding educational opportunity school administrator in Uttaradit primary educational service area office 2. Journal of MCU Nakorndhat, 7(8), 344-362. [in Thai]

Suwan, S. (2018). Human Resources and Organization Development Strategy. Nakhon Pathom: Petchkasem Company Printing Group Co., Ltd. [in Thai]

Sheninger, E. (2014). Digital leadership: Changing paradigms for changing times. California: United States of America.

Sieber, S., Kagner, E., & Zamora, J. (2013). How to be a digital leader. http://www.forbes.com/sites/iese/2013/08/23/how-to-be-a-digital-leader/

Stephen P. Robbins, David A. DeCenzo, Mary Coulter. (2013). Management: The Essentials. Pearson Education Australia.

Wittayaudom, W. (2009). Human Resource Management. Bangkok: Thanatach Company Limited Limited printing. [in Thai]

Wongsuwan, N. (2010). Human Resource Management. (6th ed.) Bangkok: Chamchuri Product. [in Thai]

Wanichawasin, P. (2017). Leadership Development: From Theory to Good Practice and Case Studies. Bangkok: Faculty of Education Department of Vocational Education, Kasetsart University. [in Thai]

Wayo, W., Charoennukul, A., Kankaynat, C., Konyai, J. (2020). Online Learning under the Covid-19 Virus Epidemic Situation Concepts and Application of Teaching and Learning management. Regional health promotion center 9 journal, 14(34), 285-29

Yuki, G. (2010). Leadership in Orgaizations. Upper Saddle River, NJ: Pearson.