แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้: กรณีศึกษา โรงเรียน มาบกราดวิทยา ตำาบลมาบกราด อำาเภอพระทองคำา จังหวัดนครราชสีมา
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อรวบรวมและจัดประเภทแหล่งสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อการเรียนรู้
ในตำาบลมาบกราด อำาเภอพระทองคำา จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกษาความต้องการใช้แหล่งสารสนเทศ
ท้องถิ่นมาประกอบการเรียนการสอนของครูในโรงเรียนมาบกราดวิทยา ตำาบลมาบกราด อำาเภอพระทองคำา
จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำารวจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและวิธีดำาเนินการวิจัย
ประกอบด้วย การรวบรวมและจัดประเภทแหล่งสารสนเทศใช้แบบบันทึกข้อมูลแหล่งสารสนเทศเป็นเครื่อง
มือเก็บรวบรวมข้อมูลในพื้นที่ตำาบลมาบกราด จำานวน 8 หมู่บ้าน รวบรวมข้อมูลโดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจาก
เอกสาร และการเก็บข้อมูลภาคสนามจากการสำารวจ และการสัมภาษณ์ ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูล
ด้วยวิธีการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า ด้านการศึกษาความต้องการใช้แหล่งสารสนเทศ ใช้แบบสอบถามเป็น
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลของครูและบุคลากรทางการศึกษา จำานวน 16 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
1. ด้านแหล่งสารสนเทศท้องถิ่นเพื่อการเรียนรู้ที่สามารถนำาไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ
โรงเรียนมาบกราดวิทยา มีจำานวนทั้งสิ้น 102 แหล่ง แบ่งได้เป็น 4 ประเภท ได้แก่ 1) แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภท
สถาบัน จำานวน 45 แหล่ง 2) แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสถานที่ จำานวน 14 แหล่ง 3) แหล่งสารสนเทศท้อง
ถิ่นประเภทบุคคล จำานวน 14 แหล่ง 4) แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทเหตุการณ์ จำานวน 29 แหล่ง
2. ด้านความต้องการใช้แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นมาประกอบการเรียนการสอนของครู พบว่า โดย
ภาพรวมมีความต้องการมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ครูมีความต้องการแหล่งสารสนเทศท้อง
ถิ่นประเภทบุคคลมากที่สุด รองลงมาคือ แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทเหตุการณ์ แหล่งสารสนเทศท้อง
ถิ่นประเภทสถาบัน และแหล่งสารสนเทศท้องถิ่นประเภทสถานที่ ตามลำาดับ
Article Details
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ
ขนิษฐา รุ่งกิจเลิศสกุล. (2546). การใช้แหล่งวิทยาการในชุมชนเพื่อพัฒนาการเขียนเล่าเรื่องของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
จันทิมา เขียวแก้ว. (2558). เอกสารประกอบการสอนการจัดการสารสนเทศเพื่องานนิเทศศาสตร์.
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย.
ชัชวาล วงษ์ประเสริฐ. (2537). บริการสารนิเทศ. ปทุมธานี : สาขาสารนิเทศ คณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยรังสิต.
ชัยพจน์ รักงาม. (2542). แหล่งเรียนรู้เพื่อเป็นคนรอบรู้. วารสารวิชาการ, 2(4), 31-33.
ณรงค์ ก๋องแก้ว. (2541). การใช้แหล่งวิทยาการท้องถิ่นในการพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสร้างเสริม
ประสบการณ์ชีวิต ของโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำานักงานการประถมศึกษาจังหวัดลำาพูน.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต(การประถมศึกษา) เชียงใหม่ : บัณฑิต
วิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ทองสวน โสดาภักดิ์. (2549). การพัฒนาแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องเกษตรกรรมพึ่งตนเอง
โดยใช้แหล่งเรียนรู้ท้องถิ่นกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโลยี ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน)
มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
นรินทร์ สังข์รักษา. (2549). การจัดการความรู้ : ฐานความรู้สู่สังคมธรรมานุภาพ. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 4(1-2), 19-28.
นิดา นิ่มวงษ์. (2559). การใช้แหล่งเรียนรู้เพื่อจัดการเรียนการสอนของครูโรงเรียนธัญรัตน์ สังกัด
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
(การบริหารการศึกษา) ปทุมธานี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยปทุมธาน
บุญญลักษม์ ตำานานจิตร. (2554). แนวทางการพัฒนาการใช้สารสนเทศประกอบการจัด
ประสบการณ์การเรียนรู้ของผู้ดูแลเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของประเทศไทย. กรุงเทพฯ :
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
พยอม ยุวะสุต. (2550). “การเข้าถึงสารสนเทศ”. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2560, จาก
http://wachum.org/payom/doc7-1.html
พรรณี เสี่ยงบุญ. (2554). การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาเพื่อจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สำาคัญ โรงเรียนบ้านหนองบัวคู อำาเภอนาดูน สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามหาสารคาม
เขต 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), 109-120.
ไมตรี จันทรา. (2548). การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนประกอบการจัดการเรียนรู้ของครู ในสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐาน สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครศรีธรรมราช เขต 1. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา) นครศรีธรรมราช : บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ภีมศักดิ์ เอ้งฉ้วน. (2556). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเลือกแหล่งสารสนเทศ:กรณีศึกษาของนักศึกษา
อาเซียนในประเทศ ไทย. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำาแหง
รัถพร ซังธาดา. (2541). สารนิเทศและการศึกษาค้นคว้า. มหาสารคาม: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์
และสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วราพรรณ อภิศุภะโชค. (2553). การเปรียบเทียบพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศของอาจารย์
คณะมนุษยศาสตร์ และคณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสาร
มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17(2), 57-70.
ศิริรัตน์ จำาปีเมือง. (2553). ความรู้ที่จำาเป็นของคนยุคเศรษฐกิจฐานความรู้. วารสารศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเนรศวร, 12(1), 165-171.
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2543). ยุทธศาสตร์การเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่
21: สหราชอาณาจักร. กรุงเทพฯ: องค์การค้าคุรุสภา.
สำานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). “แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564”. สืบค้นเมื่อ 19 มิถุนายน 2560, จาก
http://www.nesdb.go.th.
สุพิมล วัฒนานุกูล. (2556). “Information Access การเข้าถึงสารสนเทศ”. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม
2560, จาก teacher2.aru.ac.th/thanoo/images/stories/information/lesson1.pdf
สุภางค์ จันทวานิช. (2547). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อลงกรณ์ จุฑาเกตุ. (2556). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต :
พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต (การศึกษาตลอดชีวิต
และการพัฒนามนุษย์) กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.