ความผาสุกทางจิตใจของผู้บริหารโรงเรียน
คำสำคัญ:
ความผาสุกทางจิตใจ, ผู้บริหารโรงเรียนบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผาสุกทางจิตใจของผู้บริหารโรงเรียน โดยเป็นการรวบรวมแนวคิดและทฤษฎีของนักวิชาการต่างๆ และบทวิเคราะห์ของผู้เขียนที่สะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดความผาสุกทางจิตใจของผู้ที่ทำหน้าเป็นฝ่ายบริหารของโรงเรียน เพราะผู้บริหารมีหน้าที่ในการบริหารจัดการโรงเรียนที่ครอบคลุมบทบาททุกอย่าง และต้องแบกรับภาระทั้งหมดในการแก้ปัญหา โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้องกำกับ บริหารงานทั้งหมดให้มีความราบรื่นและเป็นธรรม การบริหารงานต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ในการบริหาร ผู้บริหารต้องมีคุณสมบัติพิเศษหลายประการเพื่อทำให้เกิดความสมดุลในทุกเรื่อง เมื่องานต่างๆ ภายในโรงเรียนมีความสมบูรณ์ มีประสิทธิภาพเรียบร้อยเป็นไปตามแผนงาน ปรัชญา วิสัยทัศน์แล้ว จะส่งผลให้ผู้บริหารมีความผาสุกทางจิตใจ และมีกำลังใจในการบริหารมากยิ่งขึ้น
References
คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2559). Psychological well-being สุขภาวะทางจิต. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2567 จาก https://www.psy.chula.ac.th/th/feature-articles/psychological-well-being
ทิพย์นภา หวนสุริยา. (2567). Martin Seligman: จากนักวิจัย ความสิ้นหวัง สู่ผู้ก่อตั้ง จิตวิทยาเชิงบวก สาขาวิชาจิตวิทยาสังคม คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2567 จาก http://www.hippp.psy.chula.ac.th/martin-seligman
ธีระพร อุวรรณโณ. (2555). การอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2567 จาก http://legacy.orst.go.th
ภมรพรรณ์ ยุระยาตร์. (2554). การศึกษาและพัฒนาความผาสุกทางจิตใจของนิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย (ดุษฎีนิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
วีระศักดิ์ สงวนพรรค. (2553). การพัฒนาทุนทางจิตวิทยาของพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
American Psychological Association. (2015). APA dictionary of psychology. 2nd ed. Washington DC: American Psychological Association.
Boogaard, K. (2024). What is psychological well-being (and how to improve yours). Retrieved 20 May, 2024, from https://getmarlee.com/blog/psychological-well-being
Morin, A. (2024). How to Improve Your Psychological Well-Being Your emotional health is key to a happy life. Retrieved 20 May, 2024, from https://www.verywellmind.com/improve-psychological-well-being-4177330
Provincial Health Services. (2024). 10 tips to boost your mental Health. Retrieved 20 May, 2024, from http://www.bcmhsus.ca/about/news-stories/stories/10-tips-to-boost-your-mental-health.
Ryff, C.D., & Keyes, C.L.M. (1995). The Structure of Psychological Well-Being Revisited. Journal of Personality and Social Psychology, 69(4), 719-727.
Seligman, M. E. P. (2011). Flourish: A visionary new understanding of happiness and well-being. New York: Free Press.
Snyder, C. R. & Lopez S. J. (2007). Positive Psychology: The Scientific and Practical Exploration of Human Strengths. CA: Sage Publication, Inc.
Stoll, S.J. & Pollastri, A.R. (2023). Psychological well-being. Retrieved 20 May, 2024, from https://www.sciencedirect.com/topics/medicine-and-dentistry/psychological-well-being
World Health Organization. (2022). Mental health: a state of well-being. Retrieved June 17, 2022, from http://www.who.int/features/factfiles/mental_health/en/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ ในการตีพิมพ์บทความ
จะโชว์ตอนที่ ผู้ส่งบทความ ตีพิมพ์ ต้องกด accept