แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมในจังหวัดขอนแก่น เพื่อสนับสนุนการเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
คำสำคัญ:
คุณภาพการบริการ, ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม, จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ, จังหวัดขอนแก่นบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ความสามารถในการเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น และเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมในจังหวัดขอนแก่นเพื่อสนับสนุนการเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูลทุติยภูมิจากการศึกษาจากแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลปฐมภูมิ จากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมในจังหวัดขอนแก่น จำนวน 30 ท่าน ผลการศึกษาพบว่า จังหวัดขอนแก่นมีศักยภาพและขีดความสามารถในการเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืน คือ เป็นเมืองเศรษฐกิจขนาด เป็นศูนย์กลางของภูมิภาคทั้งยังมีความพร้อมของสถานพยาบาลทั้งรัฐบาลและเอกชน และองค์ความรู้ด้านการแพทย์ค่อนข้างสมบูรณ์แบบ รวมถึงมีชุมชนที่มีความโดดเด่นทางด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และที่สำคัญคือ โอกาสในการพัฒนาที่ได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐทั้งงบประมาณสนับสนุนและการลงทุนทางด้านการท่องเที่ยวและทางด้านสุขภาพ และแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการเพื่อเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพอย่างยั่งยืน จังหวัดขอนแก่น 5 ด้าน ได้แก่ 1.ความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ 2.ความเชื่อถือได้ 3.ความมีตัวตน 4.ความเอาใจใส่ และ 5.การตอบสนองทันที และสิ่งสำคัญที่จะทำให้เกิดความยั่งยืนคือ การจัดการองค์ความรู้ที่เกิดขึ้นจากการบริการในทุกมิติ โดยสามารถนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้เพื่อเก็บรวบรวมและนำเสนอองค์ความรู้ด้านสุขภาพ
References
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2555). การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก https://www.mots.go.th/
ewt_dl_link.php?nid=7622.
การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2564). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติฉบับที่ 2. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/policy/download/article/article_20170509151402.pdf.
กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2564). รายงานวิสัยทัศน์ด้านการท่องเที่ยว พ.ศ. 2579. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/policy/download/article/
article_20170509151433.pdf.
คณะกรรมการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.
คณพัฒน์ กรีนิกร (2555). อิทธิพลของคุณภาพการบริการที่มีต่อบุคลิกภาพแบรนด์ในกรณีผู้บริโภคที่มีระดับการปฏิสัมพันธ์กับธุรกิจบริการแตกต่างกัน (วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ไทยรัฐออนไลน์. (2565). Thailand Wellness Sandbox. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก https://www.thairath.co.th/tags
/Thailand%20Wellness%20Sandbox.
สมาคมโรงแรม. (2565). มาตรฐานโรงแรม. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2566 จาก http://www.thaihotels.org/16679475/hotel-standard.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก http://nscr.nesdb.go.th/wp-content/uploads/2020/11/Dec20_full_v2.pdf.
สำนักงานจังหวัดขอนแก่น. (2565). แผนพัฒนาจังหวัดขอนแก่น 2566-2570. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จาก http://www.khonkaen.go.th/khonkaen6/main.php?cont=vision#
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2559). แนวโน้มธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 18 มีนาคม 2566 จากhttps://www.kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/HotelTourGrowthTourismTrend.pdf.
Escobar Rivera, D., Casadesús Fa, M., Alexandre Costa Araújo Sampaio, P., & Simon Villar, A. (2019). Exploring the role of service delivery in remarkable tourism experiences. Sustainability, 11(5), 1382.
Global Wellness Institute (GWI). (2022). The Global Wellness Economy: Country Rankings. Retrieved on April 18, 2023 from https://globalwellnessinstitute.org/industry-research/2022-global-wellness-economy- country-rankings/.
Juran, J. M. & Gryna, F. M. (1988). Juran's Quality Control Handbook. 4th ed. McGraw-Hill: New York.
Lewis, M. & Bloom, P. (1983). Organization Behavior. New York: Mc Graw Hill.
Lovelock, C. H., & Wright, L. (2002). Principles Of Service Marketing and Management. 2nd ed. New Jersey: Pearson Education International.
Lovelock, C. H., Patterson, P. G., & Walker, R. H. (2001). Services Marketing: An Asia-Pacific Perspective. 2nd ed. New South Wales, Australian: Prentice Hall.
Moguerza, J. M., Martín-Duque, C., & Fernández-Muñoz, J. J. (2022). The importance of service quality as an instrument for client customization: a methodological and practical approach within the hotel sector. Quality & Quantity, 56(3), 1631-1642.
Mueller, H., & Kaufmann, E. L. (2001). Wellness Tourism Market Analysis of a Special Health Tourism Segment and Implications for the Hotel Industry. Journal of Vacation Marketing, 7(1), 5-17.
Müller, H. & Kaufmann, E. L. (2000). Wellness‐Tourismus: Eine analyse des schweizer markets und konsequenzen für die hotellerie. The Tourist Review, 55(2), 26-38. https://doi.org/10.1108/eb058331
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple-item scale for measuring consumer perceptions of service quality. Journal of Retailing, 64(1), 12–40.
Sharma, S., & Sharma, A. (2022). Innovative strategies to tackle post-Covid-19 tourism: case of small tourism companies. Journal of Indian Business Research. (ahead-of-print). https://doi.org/10.1108/JIBR-04-2022-0121
Travel & Tourism Competitiveness Report. (2019). World Economic Forum. Retrieved on April 18, 2023, from https://www.weforum.org/reports/the-travel-tourism-competitiveness-report-2019/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ ในการตีพิมพ์บทความ
จะโชว์ตอนที่ ผู้ส่งบทความ ตีพิมพ์ ต้องกด accept