การปรับตัวของบุคลากรในองค์การมหาชนเพื่อสร้างคุณค่าแห่งตนในยุคของการเปลี่ยนแบบพลิกผัน

ผู้แต่ง

  • ธัญญารัตน์ นัยเนตร สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน)
  • ชเนตตี พุ่มพฤกษ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • จักรพันธ์ กิตตินรรัตน์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

คำสำคัญ:

การปรับตัวของบุคลากร, การเปลี่ยนพลิกผัน, การสร้างคุณค่าในตนเอง

บทคัดย่อ

การเปลี่ยนพลิกผันเป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระดับโลก ซึ่งส่งผลกระทบทั้งการดำเนินชีวิตและการทำงาน เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเป็นตัวเร่งให้วิถีชีวิตของคนต้องเปลี่ยนแปลงไป ทำให้องค์การแต่ละแห่งต้องปรับรูปแบบการทำงานแบบพลิกโฉม บุคลากรในองค์การจะต้องมีการปรับตัวอย่างมากทั้งในด้านของการพัฒนาศักยภาพของตนเองให้เท่าทันโดยเฉพาะทักษะที่จำเป็นในการทำงานให้มีประสิทธิภาพ แรงกดดัน ที่เกิดขึ้นนี้ อาจส่งผลกระทบต่อตัวบุคลากรอย่างรุนแรงหากขาดความรู้และความเข้าใจถึงความจำเป็นในการปรับตัว ซึ่งการปรับตัวของบุคลากรเพื่อสร้างคุณค่าในตนเองนั้นสามารถทำได้ในวิธีการที่แตกต่างกัน หากบุคลากรสามารถปรับตัวได้ดี ย่อมส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีขึ้น เกิดความพึงพอใจในงาน และมีสุขภาพจิตที่ดีในการทำงาน บทความนี้อธิบายแนวทางการการปรับตัวโดยทำความเข้าใจในตนเอง เข้าในในการทำงานในยุคของการเปลี่ยนพลิกผัน โดยมีเพื่อวัตถุประสงค์ในการแก้ปัญหาด้านทรัพยากรบุคคลให้สามารถการปรับตัวของบุคลากรในองค์การมหาชนเพื่อสร้างคุณค่าแห่งตนในยุคของการเปลี่ยนแบบพลิกผันต่อไปเพื่อหาแนวทางสร้างคุณค่าให้ตนเองผ่านองค์ประกอบของการปรับตัวในการทำงาน 5 ด้าน คือ 1) การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 2) ปฏิกิริยาต่อเหตุฉุกเฉินหรือสถานการณ์ที่ไม่ได้คาดคิด 3) ความสามารถในการปรับตัวระหว่างบุคคล 4) ความมุ่งมั่นในการฝึกฝนและเรียนรู้ และ 5) การจัดการความเครียด ต่อไป

References

เขมจิรา ธรรมสอน และประยุทธ ไทยธานี. (2565). ผลของกิจกรรมจิตตปัญญาศึกษาที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของพนักงานโรงแรม. วารสารราชพฤกษ์, 20(1), 27–37.

จิระจิตต์ บุญนาค. (2555). กลยุทธ์การบริหารการเปลี่ยนแปลง. วารสารนักบริหาร, 32(2), 125-132.

ชัชชัย คุ้มทวีผล. (2562). นวัตกรรมการเรียนรู้: การศึกษาที่พลิกผันด้วยการปฏิวัติดิจิทัล. วารสารสมาคมปรัชญาและศาสนาแห่งประเทศไทย, 14(1), 20 – 66.

โชติกา ใจทิพย์ และ กฤษดา เชียรวัฒนสุข. (2561). ศักยภาพขององค์กรผู้นำธุรกิจในสถานการณ์โลกที่มีความผันผวน ความไม่แน่นอน ความซับซ้อน และความคลุมเครือ. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 7(1), 1-14.

ธวัลหทัย บุญยรัตนเสวี. (2562). VUCA World ความท้าทายของคนยุคใหม่ในโลกที่พลิกผัน. วารสารข้าราชการ, 61(2), 25-27.

ธัญญารัตน์ ยุวรรณะ และพวงเพชร์ วัชรอยู่. (2557). อิทธิพลของการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคและการเห็นคุณค่าในตนเองต่อความผาสุกของพนักงานฝ่ายผลิตในบริษัทผลิตบรรจุภัณฑ์แห่งหนึ่ง. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์, 40(1), 147-165.

ธีรรัตน์ สำเร็จว่าณิชย์. (2565). อภิปรายร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566. สืบค้นเมื่อ 2 มิถุนายน 2566 จาก https://www.youtube.com/watch?v=-P8N1NPoshs

นิฟิรดาวส์ นิและ และชวลิต เกิดทิพย์. (2563). ทบทวนมุมมองการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาในยุคสังคมพลิกผัน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 12(1), 111-126.

นพดล เจนอักษร, มัทนา วังถนอมศักดิ์ และ นุชนรา รัตนศิระประภา. (2564). กระบวนทัศน์การบริหารการศึกษาในยุคพลิกผัน. วารสาร มจร พุทธศาสตร์ปริทรรศน์, 5(2), 51-66.

บริษัท เพียร์ พาวเวอร์ แพลตฟอร์ม จำกัด. (2562). Digital Disruption การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัว. สืบค้นเมื่อ 15 มิถุนายน 2566 จาก https://www.peerpower.co.th/blog/investor/digital-disruption

พิชญ์สินี มะโน. (2562). ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค Digital Disruption ต่อการศึกษา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18(1), 1-6.

พรรณฑิตา ทัศนิยม และชนัดดา เพ็ชรประยูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวในการทำงานและความตั้งใจคงอยู่ในงานของพนักงานระดับหัวหน้างานในธุรกิจบรรจุภัณฑ์. วารสารจิตวิทยา, 19(1), 16-27.

ภคพร เปลี่ยนไพโรจน์ และมณฑล สรไกรกิติกูล. (2562). มุมมองและการปรับตัวของพนักงานในยุคบริการทางการเงินดิจิตอล. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา, 8(1), 62 – 80.

ภาณุวัฒน ภักดีวงศ และกฤษณา วรรณกลาง. (2563). นวโกวาทกับการเป็นเครื่องมือในการใช้ชีวิตของคนในยุคสังคมพลิกผัน (Disrupt Society). วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา, 3(1), 91 – 112.

ศศิมา สุขสว่าง. (2560). VUCA World ความท้าทายสำหรับผู้นำยุคใหม่. สืบค้นเมื่อ 4 มิถุนายน 2565 จาก https://www.sasimasuk.com/16768188/vuca-world-ความท้าทายสำหรับผู้นำยุคใหม่

ศรีบวร เอี่ยมวัฒน์. (2561). แนวโน้มของ Disruptive Technology และความเป็นไปได้ของรูปแบบธุรกิจในอนาคตของเครื่องถ่ายเอกสารในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ. (2562). โลกที่เปลี่ยนไปสู่โลกแห่งเรียลไทม์. สืบค้นเมื่อ 12 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.posttoday.com/social/think/577234

สัจจวัฒน์ จารึกศิลป์. (2564). การดำเนินธุรกิจผู้ประกอบการด้านกีฬาในยุคการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างพลิกผัน. วารสารสหศาสตร์, 21(1), 1-13.

สุรพงษ์ มาลี. (2562). “การพลิกโฉม” สู่ “องค์กรที่พร้อมปรับเปลี่ยน” ใน “ยุคการเปลี่ยนแปลงที่พลิกผัน”: โครงสร้าง ระบบ ทรัพยากรบุคคล และผู้นำ. วารสารข้าราชการ, 61(2), 8-10.

สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน). (2564). แผนการดำเนินงานแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน). สืบค้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2566 จาก https://wisdomking.or.th/files/media_manager/12075f8459499

dd19b4bc0eed7ccbf39/About_Us/ITA/65/Plan-2565-2.pdf

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 13 “พลิกโฉมประเทศไทยสู้ สังคมก้าวหน้า เศรษฐกิจสร้างมูลค่าอย่างยั่งยืน”. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.nesdc.go.th

/download/document/Yearend/2021/plan13.pdf

อุทัย ดุลยเกษม. (2561). อนาคตของมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในสังคมไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 10(1), 1-17.

Charbonnier-Voirin, A., & Roussel, P. (2012). Adaptive performance: A new scale to measure individual performance in organizations. Canadian Journal of Administrative Sciences/Revue Canadienne des Sciences de administration, 29(3), 280-293.

PASSIONGEN. (2018). เตรียม mindset อย่างไร ให้ทันยุค disruption. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2566 จาก https://www.passiongen.com/featured/2018/09/get-ready-mindset-for-disruption-era

Namprom, T. (2019). VUCA World… ผันผวน ไม่แน่นอน ซับซ้อนและคลุมเครือ. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2566 จาก https://reder.red/vuga-world-18-12-2019

เผยแพร่แล้ว

21-11-2023