แหล่งท่องเที่ยงทางประวัติศาสตร์กับการใช้โปรแกรม ATLAS.ti

ผู้แต่ง

  • รุ่งรัตน์ หัตถกรรม

คำสำคัญ:

การวิจัยเชิงคุณภาพ, การสังเคราะห์งานวิจัย, แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์, ATLAS.ti

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงเอกสารมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างข้อสรุปผลจากการวิจัยเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ระหว่างปี พ.ศ. 2555-2563 ในฐานข้อมูลวิจัย Thai Journal Online (Thaijo) เกณฑ์การคัดเลือกงานวิจัยคือ เป็นงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในฐานข้อมูล Thai Journal Online (Thaijo) และเผยแพร่ภายในระยะเวลา 9 ปี คือ ระหว่างปี พ.ศ. 2555-2563 ได้งานวิจัยที่นำมาวิเคราะห์ จำนวน 20 เรื่อง การสังเคราะห์งานวิจัยใช้เทคนิคการวิเคราะห์คำหลัก (Domain Analysis) การลงรหัสคือ ปีที่เผยแพร่ ลักษณะงานวิจัย สถาบันการวิจัย จังหวัดและภาค (พื้นที่ทำวิจัย) โดยใช้โปรแกรม ATLAS.ti 7.5.16 ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า ปีที่เผยแพร่ พ.ศ.2558-2563 มากที่สุด ร้อยละ 80 เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 48.39 สถาบันการวิจัย ที่เป็นมหาวิทยาลัยในสังกัดของรัฐ ดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ เป็นอันดับที่สูงที่สุด ร้อยละ 82.พื้นที่ทำวิจัย ส่วนใหญ่อยู่ภาคกลาง คิดเป็นร้อยละ 46.67 โดยมากที่สุดที่จังหวัดกำแพงเพชร ร้อยละ 13.35  ภาคเหนือ ร้อยละ 16.68 ที่จังหวัดสุโขทัย ร้อยละ  10.02 รองลงมาคือ ภาคใต้  คิดเป็นร้อยละ 23.33 พื้นที่ทำวิจัยมากที่สุดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช ร้อยละ 6.68

References

ภาษาไทย

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2545). อุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดย กองวิชาการและฝึกอบรม การท่องเที่ยวแห่งประเทศ

ไทย. กรุงเทพฯ : การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2563). สถานการณ์การท่องเที่ยวในประเทศรายจังหวัด ปี 2563. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม

จาก, https://mots.go.th/more_news_new.php?cid=594

โกศล จิตวิรัตน. (2563). การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research). สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2564, จาก

http://www.anantakul.net/learning/Qualitative_Research.pdf

ชยุตม์ วะนาและสิริกร เลิศลัคธนาธาร. (2561). มูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ อุทยาน

ประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี กับความเต็มใจที่จะจ่ายของนักท่องเที่ยว. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561). หน้า 85-99.

ชัยวัชร พรหมจิตติพงศ์และคณะ และสาติยา มิ่งวงศ์. (2555). พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวทาง

ประวัติศาสตร์ : กรณีศึกษาโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.

วารสารการบริการและการท่องเที่ยว, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –ธันวาคม 2555). หน้า 39-56.

ชีวรรณ เจริญสุข และวิชิต อู่อ้น. (2562). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อคุณค่าที่รับรู้ความพึงพอใจในคุณภาพการบริการ

และภาพลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (มรดกโลก) อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา-สุโขทัย–ศรีสัชนาลัยและกำแพงเพชร ในประเทศไทย. วารสารอัล-ฮิกมะฮฺ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี, ปีที่ 9 ฉบับที่ 18 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562). หน้า 147-167.

ณรงค์ พลีรักษ์. (2557). การท่องเที่ยวชุมชนเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวนออก. วารสาร

การบริการและการท่องเที่ยวไทย, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557). หน้า 3-15.

นนทิภัค เพียรโรจน์, สิริภัทร์ โชติช่วง และณัฐมน ราชรักษ์ .(2558). การเชื่อมโยงเส้นทางและการส่งเสริมการตลาด

โปรแกรมการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของกลุ่ม 4 จังหวัดในภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, ปีที่ 32 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558). หน้า 89-115.

ธณัศวัล กุลศรี. (2559). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์: กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์สิรินธร ตำบลโนนบุรี อำเภอ

สหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธุ์. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์

สังคมศาสตร์และศิลปะ, ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม 2559). หน้า 1-16.

ธีระวัฒน แสนคํา. (2559). การศึกษาประวัติศาสตรและขอสันนิษฐานพัฒนาการทางสถาปตยกรรมขององคพระบรมธาตุ

นครชุม วัดพระบรมธาตุ จังหวัดกําแพงเพชร. วารสารศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ปที่ 12 ฉบับที่ 1

(มกราคม-มิถุนายน 2559). หน้า 229-264.

ญาณาธร เธียรถาวร. (2563). การมีส่วนร่วมของชุมชนกับการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์อำเภอสรรคบุรี จังหวัด

ชัยนาท. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563). หน้า 293-308.

ตรีคม พรมมาบุญ ศิริพร เกตุสระน้อย และสิริลักษณ์ วนพร .(2562). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาศักยภาพ

และอนุรักษ์แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์จังหวัดสุรินทร์. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์, ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม –ธันวาคม 2562). หน้า 94-109.

ประยูร อิมิวัตร์ และคณะ. (2562). นวัตกรรมการจัดการการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชนตามแนวทาง

ระชารัฐในอำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (14) (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562). หน้า 145-156.

พนิดา จงสุขสมสกุล. (2563). การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2564, จาก

http://www.research.nu.ac.th/th/signup/sigupAll/4_2panida.pdf

พิมพ์ชนก สุวรรณศรี และคณะ. (2563). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียด้านการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องโคมไฟ 700 ปี อำเภอ

แม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563).หน้า 23-33.

พิมพระวี โรจนรุงสัตย และคณะ. (2556). การสรางคูมือสําหรับมัคคุเทศกเพื่อแหลงทองเที่ยวประวัติศาสตร กรณีศึกษา

อุทยานประวัติศาสตรพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-ตุลาคม 2556). หน้า 16-27.

เพ็ญประภา เพชระบูรณินและศศิธร ป้องเรือ. (2557). การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์

จังหวัดนครพนม ตามแนวทางการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557). หน้า 74-86.

วนัชพร จันทรักษา และวารัชต์ มัธยมบุรุษ. (2558). โครงขายการท่องเที่ยวเมืองประวัติศาสตร์สุโขทัยและเมืองบริวาร.

วารสารอารยธรรมศึกษาโขง-สาละวิน, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-กันยายน 2558). หน้า 73-94.

วิภาวรรณ บัวทอง. (2562). แอพพลิเคชั่นแสดงภูมิหลังทางประวัติศาสตรแหลงทองเที่ยว อ.ถลาง จ.ภูเก็ต. วารสารวิชาการ

ซายน์เทค มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต (PKRU SciTech Journal), ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562).

หน้า 8-14.

วัฒน์จิรชัย เวชชนินนาท. (2559). การพัฒนาส่วนประสมทางการตลาดของแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์เพื่อส่งเสริม

การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดอุดรธานี. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, ปีที่ 4 ฉบับที่3 (). หน้า

– 388.

สิริศักดิ์ อาจวิชัย. (2563). การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research). สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2564, จาก

https://www.ubu.ac.th/web/files_up/08f2015112820040788.pdf

สุนีย์รัตน์ คงศิริ, สมบูรณ์ บุญฤทธิ์ และลัญจกร นิลกาฐจน์. (2559). แนวทางการพัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิง

ประวัติศาสตร์พิพิธภัณฑสถานคลองท่อม อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยา

เชิงพุทธ, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2559). หน้า 21-26.

อนัสพงษ ไกรเกรียงศรี. (2562). การบริหารจัดการเสนทางทองเที่ยวแหลงมรดกโลก อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย

อุทยานประวัติศาสตรศรีสัชนาลัย และอุทยานประวัติศาสตรกำแพงเพชร. วารสารวิชาการ ศิลปะสถาปตย

กรรมศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปที่ 11 ฉบับที่ 1 (มกราคม –มิถุนายน 2563). หน้า 195-213.

อาทิตยา เครือจันทร์และศรีสุพร ปิยรัตนวงศ์. (2559). แนวทางพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ : กรณีศึกษาแหล่ง

โบราณสถานโมคลาน จังหวัดนครศรีธรรมราช. สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 22

ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2559). หน้า 33-52.

อำนวย บุญรัตนไมตรี และคณะ. (2560). ยุทธศาสตร์การพัฒนาการท่องเที่ยวอนุสรณ์สถานแฝดอิน-จันของจังหวัด

สมุทรสงคราม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2560). หน้า 289-297.

ภาษาอังกฤษ

Thai Journal Online (ThaiJO). (2564). Thaijo สืบค้นคำว่า “แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์”. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2564, จาก https://www.tci-thaijo.org/

เผยแพร่แล้ว

03-12-2021