การประกอบสร้างความหมายใหม่ในการอนุรักษ์ย่านเมืองเก่าเพื่อรองรับกับการท่องเที่ยว
คำสำคัญ:
ย่านเมืองเก่า, การสร้างความหมายใหม่, การท่องเที่ยวบทคัดย่อ
บทความชิ้นนี้ศึกษาปรากฏการณ์อนุรักษ์ย่านเมืองเก่าผ่านการสร้างความหมายใหม่รองรับกับการท่องเที่ยวในมุมมองบริบททั้งในประเทศและต่างประเทศผ่านเอกสาร งานวิจัย สื่ออิเล็กทรอนิกส์ บทความวิชาการและบทความวิจัย ผลแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นคือ 1) การอนุรักษ์ย่านเมืองเก่าซึ่งเชื่อมโยงกับวิถีประวัติศาสตร์ท้องถิ่นผ่านวิถีชีวิต อาคาร สถาปัตยกรรม ประเพณี เทศกาล อาหาร การแต่งกายพื้นถิ่น เป็นต้น ซึ่งถูกนำมาประกอบสร้างเรื่องราวจากอดีตผ่านภาพตัวแทน (Representation) ทั้งการจำลองขึ้นมาใหม่และรื้อฟื้นจากสิ่งเดิม และ 2)การสร้างความหมายใหม่เพื่อรองรับการท่องเที่ยว ทิศทางที่สัมพันธ์กับเชิงพาณิชย์โดยนำเมืองเก่ามาเป็นจุดขายทั้งการจัดทำเป็นร้านกาแฟ การจัดทำที่พัก และการสร้างกิจกรรมผ่านความทรงจำร่วมเพื่อระลึกถึงนับว่าการนำต้นทุนจากอดีตของย่านเมืองเก่าที่ถูกนำมาถ่ายทอดนั้น เป็นสิ่งที่พื้นที่มีการปรับประยุกต์เพื่อภายใต้รูปแบบ (Form) เดิมซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นของการอนุรักษ์ของความจริงแท้ (Authenticity) ผ่านการสร้างความหมายใหม่ย่อมมีการเปลี่ยนแปลงตามมิติของเวลาและยุคสมัยให้ยังคงอยู่ของวิถีถิ่น ความเป็นย่านเก่าและความสัมพันธ์ของการพัฒนากิจกรรมในการปรับใช้พื้นที่เพื่อรองรับกับการท่องเที่ยวจึงเป็นประเด็นน่าสนใจผ่านมุมมองที่เปลี่ยนไปในงานศึกษาชิ้นนี้
References
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพของชุมชนในเขต
เทศบาลตำบลเชียงคาน อำเภอเชียงคาน
จังหวัดเลย. การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่ง
ของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาการ
วางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหา
บัณฑิต สาขาการวางแผนชุมชนเมืองและ
สภาพแวดล้อม. มหาวิทยาลัยศิลปากร,
กรุงเทพฯ.
เชษฐา มุหะหมัดและคณะ (2559). ปฏิบัติการใน ชีวิต
ประจำวันของชาวประมงชุมชนหัวเขา. ตำบล
หัวเขา อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา.วารสาร
มหาจุฬานาครทรรศน์, 6, (2) 880-897.
เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร. (2559). เขตเพื่อการอนุรักษ์
กลุ่มอาคาร สถาปัตยกรรม และสิ่งปลูก
สร้างดั้งเดิมทรงคุณค่าในประเทศญี่ปุ่น.
กรุงเทพมหานคร:สำนักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย.
เหรียญ หล่อวิมงคล. (2554). การศึกษาเมืองมรดก
โลก: กรณีเมืองฮอยอัน. วารสารมนุษยศาสตร์
สาร, 12, (2) 1-15.
ข่าวสำนักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดแพร่.
(2562). งาน แพร่เมืองเก่า 1191 ปี,
สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2564,https://
www.facebook.com/prdphrae/
posts/1990791721067730.
จิรัชยา เจียวก๊กและคณะ (2560). การพัฒนารูปแบบ
การมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการชุมชนชาว
ประมงชายฝั่งทะเลอันดามัน.วารสารพัฒนา
สังคม, 19, (2) 21-35.
ฐานิดา บุญวรรโณ (2563). หมุนนาฬิกาสู่เวลาทาง
สังคม. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์ จำกัด.
ณัฐชา สงวนเกียรติชัย. HĒIJīi Bangkok คาเฟ่ที่ชุบ
ชีวิตตึกเก่าด้วยฉากเรื่องราวในความทรง
จำ, สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม 2564,
จาก https://adaymagazine.com/author/
yong1234/.
นพงศ์ รักขพันธุ์. (2561). ศิลปะถนน พหุวัฒนธรรม และการฟื้นฟูชุมชนเมืองจอร์จทาวน์
ประเทศ มาเลเซีย. กรุงเทพมหานคร: กรม
ส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
ป.ชวนชิม. (2563). Torry Ice cream:
ร้านเบเกอรี่พื้นเมืองที่ผสมผสานกับไอศกรีม
โฮมเมดแสนอร่อยได้อย่างลงตัว, สืบค้นเมื่อ
30 มกราคม 2564, จากhttps://porchuan
chim.com/2020/09/27/t orry-ice
cream-. มาดามลอย. (2562). ลี่เจียง เมืองเก่า
ที่เต็มเปี่ยมด้วยความงดงาม, สืบค้นเมื่อ 21
มกราคม 2564, https://www.lifestyle224.
com/content/19805.
รัตนิน สุพฤฒิพานิชย์. (2556). ความสำคัญของ
กระบวนการเรียนรู้ต่อการฟื้นฟูชุมชน: กรณี
ศึกษาชุมชนริมน้ำจันทบูร.วารสารวิชาการ
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล, 16, (1) 89-
98.
รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข. (2559). วัฒนธรรม ความขัด
แย้งและการเป็นตัวแทน. วารสารเศรษฐศาสตร์
การเมืองบูรพา, 4, (2) 31-55.
สกาวรัตน์ บุญวรรโณและเก็ตถวา บุญปราการ
(2560). พื้นที่ย่านเมืองเก่าตะกั่วป่า: การ
ประกอบสร้างอัตลักษณ์เพื่อการถวิลหาอดีต.
วารสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา, 12, (1)
61-77.
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม. (2554). ชุดความรู้ด้านการ
อนุรักษ์ พัฒนาและบริหารจัดการเมืองเก่า.
กรุงเทพมหานคร.
อรวรรณ ศาสนียกุล. (2559). แนวทางการอนุรักษ์
ตึกแถวเอกชนในพื้นที่เมืองเก่ากรณีศึกษา
ตึกแถวบนถนนถลางและถนน เยาวราช เมือง
เก่าภูเก็ต. วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการ
ศึกษาตามหลักสูตรสถาปัตยกรรม
ศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ.
Australia ICOMOS. (1999). The Burra Charter: The
Australia ICOMOS Charter for Places of
Cultural Significance. Burwood: Australia
ICOMOS.
Booking.com. (2562). Lyn’s Home Boutique
Hostel, สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2564,
จาก https://www.booking.com/hotel/
th/lyns- home-boutique-hostel.en-gb.
html.
Check in chill. (2563). 25 ที่พัก เชียงคาน สไตล์
เมืองเก่า บรรยากาศสุดฟิน ริมน้ำโขง, สืบค้น เมื่อ 13 มกราคม 2564, https://www. checkinchill.com/content/2
Filippucci, P. Archaeology and the anthropology
of memory: Takes on the recent past.
In: Duncan,G. & Thomas, Y. (eds.) Ar
chaeology and anthropology: under
standing similarities, ploring differences.
Oxford: Oxbow Books Ltd. Pp. 69-83.
2012.
Oshimi, D. And Harada, M. (2019). Host resi
dents’ role in sporting events: The city
image perspective. Sport Management
Review. 22 (2019). 263–275.
Rossi, A. (1982). The Architecture of the City.
Massachusetts: The MIT Press.
Sanook. (2562). Trok Cafe ร้านลับสุดคลาสสิคแห่ง
เมืองเก่าตะกั่วป่า, สืบค้นเมื่อ 30 มกราคม
2564, จากhttps://www.sanook.com/
travel/1415441
The cloud. (2562). Old Memories, New
Hotels เยี่ยมเยือนอาคารโบราณที่กลายร่าง
เป็นที่พักเปี่ยงความทรงจำในเกาะ
รัตนโกสินทร์, สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2564,
จากhttps://readthecloud.co/hotel
True Id. (2561). 10 ที่พัก เมืองเก่าภูเก็ต ตื่นเช้ามา
เห็นวิวตึกชิโนโปรตุกีสเลย ชิลล์ทริป
ซัมเมอร์,สืบค้นเมื่อ 13 มกราคม 2564,
จากhttps://travel.trueid.net/detail/BP
JPeXx0RoM.
True Id. (2563). Heart Made Coffee คาเฟ่ใช้
ใจในเมืองเก่าสงขลา, สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม
2564, https://food.trueid.net/detail/
j27N3Gm79B7R.
Voice TV. (2562). ถอดรหัสปัตตานี: มีอะไรอีก
มากมาย ในพื้นที่ ‘สีแดง’, สืบค้นเมื่อ 31
มกราคม 2564,จากhttps://voicetv.co.th/
read/V9cqj5p8t.
Widodo, J. (2011). ArchitecturalConservation
in Singapore. Centre for Archaeology
and Fine Arts. Vol. 21 No. 3 (September
– December). P.1-16.
Wollentz, G. (2020). The Cultural Heritage as
a Resource in Conflict Resolution
Possibilities and Challenges.Textos
de Antropologia, Arqueologia e Patrimô
nio. Volume XVII, Número 34, Julho-
Dezembro/2020.
Zappino, V. (21010). The Sustainability of
Uban Heritage Preservation The Case
of Edinburgh, UK. DISCUSSION
PAPER. Institutional Capacity and
Finance Sector.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ ในการตีพิมพ์บทความ
จะโชว์ตอนที่ ผู้ส่งบทความ ตีพิมพ์ ต้องกด accept