การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

ผู้แต่ง

  • สากล พรหมสถิตย์
  • สถาพร วิชัยรัมย์
  • ธนากร เพชรสินจร

คำสำคัญ:

การพัฒนา, ทรัพยากรมนุษย์

บทคัดย่อ

บทความเรื่องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรม แนวคิดทฤษฎีที่นำมาอธิบายแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพราะเมื่อบุคลากรได้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร ปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรแล้ว การจะทำให้องค์กรมีความมั่นคงเจริญก้าวหน้า จำเป็นต้องมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพ มีความพร้อมที่จะตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในอนาคต รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ประกอบด้วย การเรียนรู้ การฝึกอบรม การพัฒนา การศึกษา ทั้งนี้การพัฒนาดังกล่าวมีเป้าหมายที่สำคัญคือ การพัฒนางาน พัฒนาศักยภาพส่วนบุคคล และพัฒนาองค์กรให้เติบโตอย่างมั่นคง

References

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2545). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2550). ทุนมนุษย์ การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี
(ไทย-ญี่ปุ่น).
นิสดารก์ เวชยานนท์. (2559). การบริหารทุนมนุษย์เชิงกลยุทธ์เพื่อเพิ่มมูลค่า (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: เดอะ กราฟิ
โก ซิสเต็มส์.
พิชิต เทพวรรณ์. (2554). การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ : แนวคิดและกลยุทธ์เพื่อความได้เปรียบทางการ
แข่งขัน. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วนิดา วาดีเจริญ. (2556). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ จากแนวคิด ทฤษฎี สู่ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: วิจิตรหัตถกร.
ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี. (2559). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (พิมพ์ครั้งที่ 3) ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สกล บุญสิน. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. เชียงใหม่: ศูนย์บริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมบัติ กุสุมาวลี. (2552). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ: สมาคมการจัดกรงานบุคคลแห่งประเทศไทย.
สุนันทา เลาหนันทน์. (2556). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ธนการพิมพ์.
สุภาวดี ขุนทองจันทร์. (2559). การบริหารทรัพยากรมนุษย์อย่างบูรณาการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
โสภณ ภูเก้าล้วน และ ฐิติวรรณ สินธุ์นอก. (2557). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สำหรับผู้จัดการในสายงานในทศวรรษ
หน้า. กรุงเทพฯ: แปลน พริ้นติ้ง.

เผยแพร่แล้ว

07-06-2018