เศรษฐกิจพอเพียง : แนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • มาริษา ศรีษะแก้ว
  • สถาพร วิชัยรัมย์

บทคัดย่อ

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาการดำเนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ในการเป็นแนวทางการดำเนินชีวิตที่นำไปสู่เป้าหมายแห่งการพัฒนาที่ยั่งยืน ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นทั้งวิธีการและป้าหมายของการตัดสินใจและดำเนินการต่างๆ ด้วยความมีเหตุผล ความพอประมาณและการมีภูมิคุ้มกันที่ดี โดยมีเงื่อนไขที่ส่งเสริมซึ่งกันและกันคือ เงื่อนไขด้านความรู้และเงื่อนไขด้านคุณธรรม ซึ่งเมื่อได้นำมาปฏิบัติทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติแล้วก็จะส่งผลต่อการพัฒนาที่ก่อให้เกิดความเข้มแข็งและสะท้อนถึงการพัฒนาสังคมไทยที่ยั่งยืน

References

ณัฐวุฒิ ทรัพย์อุปถัมภ์ . (2558) ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. จันทบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
นพพร จันทรนำชู. (2559). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาที่ยังยืน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 14 (2).64-73 .
บัณฑูร เศรษฐศิโรตม์ และ นนท์ นุชหมอน สถาบันธรรมรัฐเพื่อการพัฒนาสังคมสิ่งแวดล้อม. (2562). การพัฒนาอย่างยั่งยืน. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2562. https://www.stou.ac.th/Foreign/Upload/เอกสารประกอบการอภิปราย_ดร.บัณฑูร%20เศรษฐศิโรตม์.pdf
ปรียานุช พิบูลสราวุธ. (2549). เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่องปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริในการประชุม ยุทธศาสตร์การสื่อสารในการเผยแพร่แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง.กรุงเทพฯ. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภิศักดิ์ กัลยาณมิตร. (2559). การพัฒนาทุนทางสังคมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 11(3). 305-316.
รัฐพงศ์ บุญญานุวัตร. (2554). การนำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวิตของประชาชนในชุมชนเขตดุสิต กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
สรานนท์ จันทร์สม. (2562) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง . สืบค้นเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม 2562. http://lansak.uthaithani.police.go.th/b1.htm
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2541). แนวทางส่งเสริมภูมิปัญญาไทยในการจัดการศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท พิมพ์ดี.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2546.) กรอบแนวคิดทางทฤษฏีเศรษฐศาสตร์ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
__________. (2548). ทุนทางสังคมกับการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน: ร่วมเรียนรู้ ร่วมขับเคลื่อนร่วมพัฒนา. สรุปผลการสัมมนา จัดโดยสำนัก พัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2548 ณ โรงแรมปรินซ์พาเลซ กรุงเทพมหานคร.
__________. (2550). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ 21 เซ็นจูรี่ เลขที่ 1.
__________. (2557). รายงานผลการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ สองปีของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11. กรุงเทพฯ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
__________. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง (2562 - 2564). กรุงเทพฯ. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
__________. (2562). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม 2562. https://www.nesdb.go.th/ewt_news.php?nid=6420&filename=develop_issue
สุภาพร ภู่ไพบูลย์. (2558). การจัดการชุมชนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชนบ้านโพธิ์ศรี อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการภาครัฐและเอกชน. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2543). ใต้เบื้องพระยุคลบาท. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มติชน.
เอนก นาคะบุตร. (2545). ทุนทางสังคมและประชาสังคมในเมืองไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักกองทุนเพื่อสังคม ธนาคารออมสิน.

เผยแพร่แล้ว

05-02-2020