การพัฒนานโยบายและมาตรการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าว ในภาคประมงทะเล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทของนโยบายและมาตรการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าวในภาคประมงทะเล และ 2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของนโยบายและมาตรการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าวในภาคประมงทะเล โดยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการวิเคราะห์เอกสารและสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนานโยบายและมาตรการ
ผลการวิจัยพบว่า 1) บริบทของนโยบายและมาตรการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าวในภาคประมงทะเล พบว่านโยบายและมาตรการแต่ละช่วงยังมีทิศทางที่ไม่ชัดเจนแน่นอน และรัฐบาลแต่ละสมัยมีนโยบายและมาตรการที่แตกต่างกัน ทำให้แรงงานต่างด้าวภาคประมงทะเลยังไม่ได้รับความคุ้มครองสิทธิเท่าที่ควร 2) ปัญหาและอุปสรรคของนโยบายและมาตรการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าวในภาคประมงทะเล พบว่านโยบายและมาตรการดังกล่าวยังทำได้ไม่ทั่วถึง ทำให้แรงงานต่างด้าวภาคประมงทะเลไม่ได้รับความคุ้มสิทธิเท่าที่ควร ข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนานโยบายและมาตรการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าวในภาคประมงทะเลจะต้องมีความชัดเจนและรับฟังปัญหาข้อเสนอแนะของทุกภาคส่วน รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐต้องบูรณาการทำงานร่วมกันตลอดจนนโยบายและมาตรการดังกล่าวแรงงานต่างด้าวภาคประมงทะเลจะต้องเข้าถึงสิทธิอย่างทั่วถึงและได้รับการคุ้มครองสิทธิอย่างเสมอภาคโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
และการพัฒนาสถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 33(1):1.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. (2558).โครงการพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงานเพื่อรองรับ
การเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีอาเซียน : การจัดทำฐานข้อมูลระบบการคุ้มครองแรงงานของ
ประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน 9 ประเทศ.สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย
ฐานข้อมูลงานวิจัยด้านแรงงาน กระทรวงแรงงาน.
กรรณภัทร ชิตวงศ์.(2559). การบังคับใช้กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิของลูกจ้างแรงงานภาค
ประมงทะเลในจังหวัดสงขลา.วารสารนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 9(1):183.
เฉลิมพล แจ่มจันทร์และคณะ. (2560).การบริหารจัดการระบบประกันสุขภาพและบริการสุขภาพที่
เหมาะสมสำหรับแรงงานข้ามชาติหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายการจัดการแรงงานข้ามชาติพ.ศ. 2555.พิมพ์ครั้งที่ 1 นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคมมหาวิทยาลัยมหิดล.
บุญวรา สุมะโนและคณะ. (2558).รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาระบบการคุ้มครองแรงงาน
เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรีอาเซียน : การจัดทำฐานข้อมูลระบบการคุ้มครอง
แรงงานของประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน 9 ประเทศ.สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย.
บุษยรัตน์ กาญจนดิษฐ์.(2552).เสวนา : การให้ความคุ้มครองแรงงานข้ามชาติ กับบทบาทของ
NGO.ประชาไท.ค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม2561.จาก https://prachatai.com
/2009/02/20127.
วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์ และวสุพงศ์ คงพรปรารถนา.(2558).การเรียกร้องสิทธิของแรงงานต่างด้าว
เพื่อต่อรองกับนายจ้าง ในอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร. วารสารวิชาการ Veridian
E-Journal, Silpakorn Universityฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ
ศิลปะปีที่ 8 (2),1067.
ศศิวิมล ตันติวุฒิ.(2559).ปมปัญหาแรงงานต่างด้าวแก้ไม่จบหรือไม่ถูก.เข้าถึงเมื่อ 24พฤษภาคม
2561 ,เข้าถึงได้จากhttp://tdri.or.th/tdri-insight/alien-workers
ศูนย์ประสานงานแรงงานประมงจังหวัด กรมการจัดหางาน สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว.
(2560).ประวัติความเป็นมา.ค้นเมื่อ19 เมษายน 2561จาก https://www.doe.go.th
ศิริพร สัจจานันท์ และคณะ.(2557).การคุ้มครองแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย : กรณีศึกษา
จังหวัด นนทบุรี.สถาบันการวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.(2553). ผลกระทบจากการจ้างแรงงานข้ามชาติของไทย
ภายใต้ยุคพิสูจน์สัญชาติ.พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สุรพงษ์ กองจันทึก และคณะ. (2554).นโยบายและมาตรการการแก้ไขปัญหาแรงงานข้ามชาติ.
กรุงเทพฯ:มูลนิธิรักไทย.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงแรงงาน.(2560).นโยบายเน้นหนัก ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.2561.ค้นเมื่อ 28 กันยายน 2561. จาก http://minister.mol.go.th
/ewt_news.php?nid=777
เสาวธาร โพธิ์กลัด.(2554). ปัญหาของแรงงานข้ามชาติกรณีศึกษาแรงงานข้ามชาติสัญชาติพม่า
ในเขตพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.โครงการวิจัยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธนบุรี.
เอกลักษณ์ หลุ่มชมแข.(2560).รายงานพิเศษขึ้นบัญชีดำ 4 จังหวัดท่าเรือประมงที่มีปัญหาการค้า
มนุษย์ขั้นรุนแรง.ค้นเมื่อ 24 เมษายน 2560.จากhttp://www.notforsale.in.th
/autopagev4/show_page.php?topic_id=697&auto_id=7&TopicPk.
Scott Burchill. (2001).“Liberalism,” In Theories of International Relations, ed. Scott
Burchillet.al (Hampshire and New York: Palgrave).