แนวทางการบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล

Main Article Content

พิชญานันท์ อินทร์รักษ์
มัทนา วังถนอมศักดิ์

บทคัดย่อ

การบริหารสถานศึกษาในปัจจุบันมีความท้าทายในการบริหารเป็นอย่างมาก เนื่องด้วยปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไป เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีอิทธพลและเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันของทุกคนในทุก ๆ ด้าน การศึกษาจึงต้องมีการปรับตัวให้ตอบรับกับอิทธิพลทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีการเปลี่ยนแปลงและเจริญก้าวหน้าขึ้นทุกวัน โดยแนวทางในการบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การกำหนดวิสัยทัศน์และวางเป้าหมายสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล 2) การสารวจและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา 3) การเตรียมความพร้อมสถานศึกษาสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล 4) การพัฒนาคุณลักษณะสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล 5) การพัฒนาและปรับเปลี่ยนโครงสร้างพื้นฐาน 6) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการบริหารจัดการสถานศึกษา และ 7) การกำกับติดตามและประเมินผล เพื่อให้สถานศึกษาขับเคลื่อนและพัฒนาสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและความต้องการของผู้เรียนในยุคดิจิทัล

Article Details

How to Cite
อินทร์รักษ์ พ. ., & วังถนอมศักดิ์ ม. (2024). แนวทางการบริหารสถานศึกษาสู่การเป็นองค์กรดิจิทัล. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 35(3), 15–26. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsu/article/view/265590
บท
บทความวิชาการ

References

Electronic Transactions Development Agency. (2022). Digital Government Readiness Survey of thailand 2022. https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/5e-Government.aspx [in Thai]

Hutthayamad, M. (2021). Characteristics of School Teachers in Digital Transformation Scenarios. Journal of Bovorn Multi-Education and Human Social Sciences, 2(2), 18-24. [in Thai]

Intaramanee, S. (2019). School Management in Digital Era. UMT Poly Journal, 6(3), 93-108. [in Thai]

Junyathum, P. (2021). Administration for Private School in Digital ERA. [Doctoral dissertation, Silpakorn University]. [in Thai]

Keesukphan, E. (2023). Educational institution administration in the digital age. Content. https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/52232 [in Thai]

Khunphonkaew, C. (2023). 4 key points for developing the organization into a digital organization (Digital Organization). Articles. https://up-2be.com/4-หัวใจสำคัญ-เพื่อการพัฒนา/ [in Thai]

Komolwanich, S., Sonsupee, S., Petwisit, B., & Chimtim, K. (2020). Academic conference Presentation of research results at the 21st National Graduate School, Khon Kaen University. https://app.gs.kku.ac.th/images/img/support/grc2020/pdfabstracts//HMO16.pdf [in Thai]

Laorach, C. (2021). Digital transformation and Impacts to Organization. Journal of Human Sciences, 22(1), 227-240. [in Thai]

Macheck, P. (2023). Administration of Educational Organization in Digital Era. Document. http://edadm.buu.ac.th/public/backend/upload/ed-adm.buu.ac.th/document/file/document166623381159360600.pdf [in Thai]

Pahe, S. (2019). Bhagavantapa studies can be learned anywhere and at any time. Phrae Thai Printing Industry. [in Thai]

Pata, K., Tammets, K., Väljataga, T., Kori, K., Laanpere, M., & Rõbtsenkov, R. (2022). The patterns of school improvement in digitally innovative schools. Technology, Knowledge and Learning, 27(3), 823-841.

Poonsawat, B. (2023). Digital Natives, students in the digital age and classrooms on M-Learning. Digital-natives. https://digitalagemag.com/digital-natives [in Thai]

Srisom, P., & Limpapath, P. (2023). The Guidelines for Developing Characteristics of Leader in Digital of Teacher under the Phathumthani Primary Educational Service Area Office 1. The Journal of Research and Academic, 6(3), 93-108. [in Thai]

Senawong, C. (2023). Features of “Digital Organization”. Post. https://www.khonatwork.com/post/คุณลักษณะของ–digital–organization [in Thai]

Wongkitrungrueang, W. (2018). Digital Citizen Handbook. The One O One Percent. [in Thai]