ผลการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Main Article Content

Pichit Meesuk

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่ได้รับการจัดกกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 2) ศึกษาทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำของนักเรียนหลังเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ โดยเทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ


               กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม ปีการศึกษา 2564 จำนวน 29 คน ได้มาด้วยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่ม  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน  จำนวน 12 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีลักษณะเป็นแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 50 ข้อ 3) แบบประเมินทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำ จำนวน 7 ข้อ และ4) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยและ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติการหาค่า t แบบ Dependent Samples t-test


               ผลการวิจัยพบว่า


  1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

  2. ทักษะปฏิบัติการว่ายน้ำของนักเรียนหลังเรียนด้วยกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ผ่านเกณฑ์ทุกคน

  3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยการจัดกิจกรรมการว่ายน้ำ ตามแนวคิดพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ อยู่ในระดับมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Paper)

References

กมลวรรณ ตั้งธนกานนท์. (2555). การประเมินทักษะพิสัยเอกสารชุดวิชาการพัฒนาเครื่องมือวัด จิตพิสัยและทักษะพิสัย.

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช.

. (2559). การวัดและการประเมินทักษะปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

กรมแพทย์ทหารเรือ. (2557). คู่มือแนวทางการปฏิบัติการฉุกเฉินทางน้ำและทะเล. นนทบุรี : บริษัท อัลทิเมท พริ้นติ้ง.

กรมควบคุมโรค. (2562). องค์การอนามัยโลก ชูมาตรการป้องกันการจมน้ำของไทย เน้นใช้กลยุทธ์ทีมผู้ก่อการดี เครือข่าย

ร่วมแสดงผลงานในการประชุมเพื่อป้องกันการจมน้ำ 16 ประเทศ. สืบค้นวันที่ 6 มิถุนายน 2563 จาก https://gnews.apps.go.th/news?news=4429

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กัญยารัตน์ พลอยศิริภูริช. (2563). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อภาษาจีนโดยใช้รูปแบบการเรียนการ

สอนบทบาทสมมติร่วมกับชุดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาจีนเพื่อสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน). นนทบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

กาญจนา คุณารักษ์. (2541). หลักสูตรและการสอน. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาศิลปากร.

ทิศนา แขมมณี. (2545). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย.

. (2553). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.

นิพล อินนอก. (2550). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง พื้นที่ผิวแลปริมาตร กลุ่ม สาระการเรียนรู้

คณิตศาสตร์ ทักษะทางสังคม และการคิดวิเคราะห์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ประสาท อิศรปรีดา. (2547). จิตวิทยาการเรียนรู้กับการสอน. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ปริญญา จเรรัชต์ และคณะ. (2546). ความพึงพอใจของเกษตรกรผู้ผลิตและผู้ใช้เสบียงสัตว์

จังหวัดสุพรรณบุรี. รายงานวิจัยในการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนานักวิจัย กรมปศุสัตว์ เบื้องต้น รุ่นที่ 1 กรมปศุสัตว์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2546). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2551). การวิจัยเพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ : ปฏิบัติการในชั้นเรียน. กรุงเทพฯ : วิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

ยุพา มานะจิตต์. (2538). เอกสารการอบรมการทำวิจัย. กรุงเทพฯ : ภาควิชาวัดผลและวิจัย

การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รายงานการว่ายน้ำสู่ความเป็นเลิศโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (2562). รายงานการ ว่ายน้ำสู่ความเป็นเลิศ. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

รังสรรค์ โฉมยา. (2554). จิตวิทยา : พื้นฐานในการทำความเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2.

มหาสารคาม : สำนักพิมพ์มหาวืทยาลัยมหาสารคาม.

รุจิร์ ภู่สาระ. (2545). การเขียนแผนการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : บุ๊คพอย.

ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2539). การวัดด้านจิตพิสัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาศาส์น.

วราภรณ์ ช่วยนุกิจ. (2544). เทคนิคการสอนภาษาอังกฤษ. เชียงใหม่ : ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. (2545). พัฒนาการเรียนการสอน. มหาสารคาม : ภาควิชาหลักสูตร

และการสอนคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

วีระ มนัสวานิช. (2546). เทคนิคการว่ายน้ำสำหรับนักว่ายน้ำ ครู และผู้สอน. กรุงเทพฯ :

โอเดียนสโตร์

ศุกล อริยสัจสี่สกุล. (2560). ว่ายน้ำกีฬาเพื่อทุกคน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

สกายบุ๊กส์. (2547). ว่ายน้ำรวมกฎกติกาและพื้นฐานการเล่น. ปทุมธานี : สยามสปอร์ตซินดิเคท.

สมจัด ประทัยงามและคณะ. (2562). การพัฒนาทักษะการว่ายน้ำ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา โดยใช้

รูปแบบทักษะปฏิบัติของเดวีส์ สำหรับนักเรียนชั้นประมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ ค.ม. (หลักสูตรและการสอน).

ศรีสะเกษ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.

สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. กาฬสินธุ์ : ประสานการพิมพ์.

. (2553). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2547). การวิจัยการศึกษาเบื้องต้น. มหาสารคาม : ภาควิชาวิจัยและพัฒนา

การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2554). การผลักดันนโยบายการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ.

พิมพ์ครั้งที่ 1. นนทบุรี : โรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหาร ผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2561). คู่มือปฏิบัติการการป้องกันการจมน้ำ. นนทบุรี : รำไทยเพรส .

สุชาดา เกิดมงคลการ และ ส้ม เอกเฉลิมเกียรติ. (2552). รูปแบบการป้องกันการจมน้ำของเด็กในพื้นที่นำร่อง. กรุงเทพ :

โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สุวรรณี สมปราชญ์. (2562). ประเมินผลการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำในเด็กอายุ 0-14 ปี จังหวัดนครราชสีมา วารสาร

วิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา.

สุวัฒน์ กลิ่นเกษร. (2559). กีฬาว่ายน้ำ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิทย์ มูลคำ. (2549). การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2554). ความเที่ยงตรงเนื้อหา. นครราชสีมา : คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.

โสภณ เมฆธน. (2556). เด็กไทย 5-14 ปี ว่ายน้ำเป็นแค่ 23.7%. สืบค้นเมื่อ 6 มิถุนายน 2563 จาก

https://shorturl.asia/Ppft9.

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. (2558). ฉบับปรับปรุงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

แหวนเพชร ทวีศักดิ์สมบูรณ์. (2553). การเปรียบเทียบผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาไทย

ด้านการอ่านเชิงวิเคราะห์ระหว่างการใช้แบบฝึกทักษะกับแผนผังความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน). มหาสารคาม :

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลมหาสารคาม.

อภิชาต อ่อนสร้อย และปรีชา ศิริรัตน์ไพบูลย์. (2555). กีฬาเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิต. ปทุมธานี : รัน ทู วิชั่น.

อัจฉรา สุขอารามณ์. (2543). การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแรงจูงใจภายใน : ปัจจัยที่สัมพันธ์กับ

แรงจูงใจภายใน. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2546). วิธีการจัดการเรียนรู้ : เพื่อพัฒนากระบวนการคิด.

พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

อารี พันธ์มณี. (2546). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ใยไหมเอดูเคท.

Davies, I.K. (1971). The management of learning. London : McGraw – Hill.

Harrow, A.J. (1972). A taxonomy of the psychomotor domain. New York : David McKay.

. (1972). A taxonomy of the psychomotor domain : A Guide for Developing Behavioral

Objectives. New York : David McKay.

Fitzpatrick, R. & Morrison E.J. (1971). Performance and product evaluation. In R.L. Thorndike Ed. Educational measurement. 2nd ed. (pp. 237 – 270). Washington DC. American Council on Education.

Fitz-Gibbon, carol Taylor, Lyons Morris and Lynn, ji.auth. (1987). How to design a

program evaluation. Newbury Park : Sagh.

Lane, S. & Stone, C.A. (2006). Performance assessment. In R.L. Brennan (Ed). Educational measurement. (4 th ed). (pp. 387-424). Westport CT : Praeger.

Simpson, D. (1972). Teaching physical education: A system approach. Boston : Houghton Mufflin Co.

. (1972). The classification of educational objectives in the psychomotor domain: The psychomotor domain. Washington DC: Gryphin House.

The Royal Life Saving Society Australia. (1987). Swimming & Lifesaving The Manual. 2nd ed. Sydney :

Park.