การศึกษาการถ่ายทอดวัฒนธรรมไทใหญ่ในประเทศไทยผ่านดนตรี กรณีศึกษานายทวีศักดิ์ หน่อคำ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการถ่ายทอดวัฒนธรรมไทใหญ่ในประเทศไทยผ่านดนตรีของนายทวีศักดิ์ หน่อคำ ผลการศึกษาพบว่า นายทวีศักดิ์ หน่อคำ เป็นชาวไทใหญ่ที่ย้ายมาอยู่ในกรุงเทพฯ และต้องการที่จะปลูกฝังสำนึกทางชาติพันธุ์ ความเข้าใจทางวัฒนธรรมไทใหญ่ให้กับคนไทใหญ่ในชุมชนได้ตระหนักถึงความสำคัญ จึงได้ถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้ผ่านบทเพลง 6 บทเพลง ได้แก่ เพลงทาสี เพลงถั่วเน่า เพลงจีสอง เพลงหยอบหย่อน เพลงตะรอหมากเป้า และเพลงล่องโคง ทั้ง 6 บทเพลงพยายามนำเสนอสิ่งที่นายทวีศักดิ์ หน่อคำ ต้องการถ่ายทอดให้คนไทใหญ่ในชุมชนได้ 3 ด้าน คือ โอกาสที่ดีในการประกอบอาชีพ อาหารประจำชาติพันธุ์ และความเป็นชาติพันธุ์ไทใหญ่
Article Details
บท
บทความวิจัย (Research Paper)
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
1. กฤษฎา ดาวเรือง. (2551). ความเปลี่ยนแปลงทางดนตรีของชาวไทใหญ่ : จากรัฐฉานสู่กรุงเทพมหานคร. (ศษ.ม.). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
2. นราธิป ทับทัน, และ ชินศักดิ์ ตัณฑิกุล. (2560). “สัมภาระทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในเรือนยวนสีคิ้ว : จากเมืองเชียงแสนสูจังหวัดนครราชสีมา.” วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 16(2), 18.
3. บุษกร บิณฑสันต์ และคณะ. (2559). รายงานการวิจัยวัฒนธรรมดนตรีไทใหญ่ในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
4. ปิลันธน์ ไทยสรวง. (2559). ชาวไทใหญ่ในกรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 63, จาก http://lek-prapai.org/home/view.php?id=217
5. อรศิริ ปาณินท์. (2553). “การเปลี่ยนถ่ายสัมภาระทางวัฒนธรรมของชาวพวน : จากเชียงขวางสู่ลุ่มน้ำโขงภาคกลางของไทย.” วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 2010(7), 159-160.
2. นราธิป ทับทัน, และ ชินศักดิ์ ตัณฑิกุล. (2560). “สัมภาระทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในเรือนยวนสีคิ้ว : จากเมืองเชียงแสนสูจังหวัดนครราชสีมา.” วารสารสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้างวินิจฉัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 16(2), 18.
3. บุษกร บิณฑสันต์ และคณะ. (2559). รายงานการวิจัยวัฒนธรรมดนตรีไทใหญ่ในรัฐชาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
4. ปิลันธน์ ไทยสรวง. (2559). ชาวไทใหญ่ในกรุงเทพฯ. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มี.ค. 63, จาก http://lek-prapai.org/home/view.php?id=217
5. อรศิริ ปาณินท์. (2553). “การเปลี่ยนถ่ายสัมภาระทางวัฒนธรรมของชาวพวน : จากเชียงขวางสู่ลุ่มน้ำโขงภาคกลางของไทย.” วารสารหน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 2010(7), 159-160.