รูปแบบการประเมินผลระหว่างเรียน

Main Article Content

อิสระ กุลวุฒิ
สุรีพร อนุศาสนนันท์
สมพงษ์ ปั้นหุ่น

บทคัดย่อ

หลักการประเมินผลระหว่างเรียน คือ การเก็บรวบรวมข้อมูลของนักเรียนโดยครูผู้มีบทบาท
สำคัญยิ่งเพื่อแสดงหลักฐานความก้าวหน้าของผู้เรียน การประเมินผลระหว่างเรียนเป็นการตัดสิน
ที่สำคัญสำหรับการยกระดับ หรือเป็นเครื่องมือที่มีศักยภาพด้านการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ถ้าใช้ในชั้นเรียนอย่างเหมาะสม ในบทความนี้ได้นำเสนอรูปแบบการประเมินผลระหว่างเรียน
เพื่อเป็นแนวทางในการเพิ่มทักษะด้านการประเมินของครูในศตวรรษที่ 21 เช่น รูปแบบการประเมินผล
ระหว่างเรียนของ Black and Wiliam รูปแบบการประเมินผลระหว่างเรียนของ Torrance and
Pryor รูปแบบการประเมินผลระหว่างเรียนของ Cowie and Bell และรูปแบบการประเมินในชั้นเรียน
ของ Ruiz-Primo and Furtak

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic Paper)

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ขจรศักดิ์ บัวระพันธ์. (2550). การประเมินผลระหว่างเรียน: แนวคิดและวิธีการ.
วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 22(2), 29-39.
เยาวดี รางชัยกุล วิบูลย์ศรี. (2550). การประเมินโครงการแนวคิดและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 6.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2554). ทฤษฏีการประเมิน. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ส.วาสนา ประวาฬพฤกษ์. (2543). การประเมินการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัศรีนครินทร
วิโรฒ.
สมนึก ภัททิยธนี. (2555). การวัดผลการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กาฬสินธุ์: ประสานการพิมพ์.
สุรีพร อนุศาสนนันท์. (2558). การวัดและประเมินผลในชั้นเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 2) ชลบุรี: เก็ทกู๊ดครีเอชั่น.
Black, P., & Wiliam, D. (1998). Assessment and classroom learning. Assessment
in education, 5(1), 7-74.
Cowie, B., & Bell, B. (1999). A model of formative assessment in science education.
Assessment in Education: Principles, Policy & Practice, 6(1), 101.
Crocker, L. M., & Algina, J. (2006). Introduction to classical and modern test theory:
Holt, Rinehart, and Winston.
Croner, S. D. (2012). The effect of common formative assessments on teacher
efficacy (Order No. 3556187). Available from ProQuest Dissertations & Theses
Global. (1324104858). Retrieved from http://search.proquest.com/docview/
1324104858?accountid=44783.
Miller, M. D., Linn, R. L., & Gronlund, N. E. (2012). Measurement and Assessment
in Teaching Plus Myeducationlab with Pearson Etext -- Access Card Package
(11ed): ADDISON WESLEY Publishing Company Incorporated.
Ruiz-Primo, M. A., & Furtak, E. M. (2006). Informal formative assessment and scientific
inquiry: Exploring teachers' practices and student learning. Educational
Assessment, 11(3/4), 205-235.
Torrance, H., & Pryor, J. (1998). Investigating formative assessment: Teaching, learning,
and assessment in the classroom. Philadelphia, PA: Open University Press.
Torrance, H., & Pryor, J. (2001). Developing formative assessment in the classroom:
Using action research to explore and modify theory. British Education
Research Journal, 27(5), 615-631.
Wiliam, D. (2008). Improving learning in science using formative assessment.
In J. Coffey, R. Douglas & C. Stearns (Eds.), Assessing Science Learning:
Perspectives from Research and Practice. Arlington, VA: NSTA Press.