รูปแบบการพัฒนาผู้นำเยาวชนวิศวกรรมบูรณาการเพื่อการพัฒนาชุมชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาผู้นำาเยาวชนวิศวกรรม
บูรณาการเพื่อการพัฒนาชุมชน 2) พัฒนารูปแบบการพัฒนาผู้นำาเยาวชนวิศวกรรมบูรณาการเพื่อการ
พัฒนาชุมชน 3) ทดลองใช้และประเมินรูปแบบ วิธีดำาเนินการวิจัยแบ่งตามวัตถุประสงค์เป็น 3 ระยะ
คือระยะที่1 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์และนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรม
ไฟฟ้า มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ จำานวน 50 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลเชิง
พรรณนา ใช้สถิติค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบปัจจัยทั้งหมด 5 ด้าน คือ ภาวะผู้นำา
เยาวชน การสื่อสาร การพัฒนาทีม วิศวกรรมบูรณาการ การพัฒนาชุมชน โดยรวมมีความเหมาะสมอย่างยิ่ง
ในทุกด้าน ระยะที่ 2 ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ประเมินความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง
ของรูปแบบและหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน ประชุมสัมมนาผู้เชี่ยวชาญเพื่อรับรองรูปแบบจำานวน
6 ท่าน ผลการพิจารณาพบค่าความเหมาะสมรายข้ออยู่ในระดับเห็นด้วยและโดยรวมสอดคล้อง ได้รูป
แบบ 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ค้นหาอาสาสมัครเยาวชน 2) ฝึกอบรมผู้นำาเยาวชนวิศวกรรมบูรณาการ 3)
ค้นหาปัญหาและความต้องการชุมชน 4) สร้างแนวคิดและนำาเสนอ 5) พัฒนาเทคโนโลยี 6) ถ่ายทอด
เทคโนโลยี 7) ประเมินผล ระยะที่ 3 ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และเชิงทดลอง กลุ่มทดลอง
ได้แก่ นักศึกษาสาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้าชั้นปีที่ 4 ที่มีความต้องการแก้ไขปัญหาในท้องถิ่น จำานวน
4 กลุ่ม 15 คน วิเคราะห์เปรียบเทียบผลด้วยสถิติ Wilcoxson Signed Rank test ผลการทดลองพบ
ว่าผู้นำาเยาวชนวิศวกรรมบูรณาการเพื่อการพัฒนาชุมชน มีความรู้ เจตคติ และพฤติกรรม ตามปัจจัย
5 ด้าน เพิ่มขึ้นมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
สำานักงานส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพชุมชน. บริษัทสุภัชนิญค์ พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำากัด.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2551). ทำางานอย่างไรให้ก้าวหน้า. กรุงเทพฯ : ซัคเซส มีเดีย.
ฉลอง นาคเสน. 2556. รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่ง
เสริมสุขภาพตำาบล. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา
ภูมิภาค บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ฉวีวรรณ วงศ์แพทย์ และคณะ. (2553). โครงการ “รูปแบบการบริหารจัดการโครงการวิจัยเพื่อท้อง
ถิ่นที่เอื้อ ต่อการบูรณาการ การเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการสู่ชุมชน :
กรณีศึกษาชุมชนตำาบลไทรย้อย อำาเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่”. สำานักงานกองทุนสนับสนุน
การวิจัย ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น.ช่อเพชร เบ้าเงิน. (2545). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างความฉลาดทางอากรมณ์
ด้านการ ตระหนักรู้ตนเองของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำานักงาน การประถมศึกษา
จังหวัดสมุทรสาคร. ปริญญานิพนธ์ กศ.ด. (การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ชาญ ยอดเละ และคณะ. (2548). โครงการบูรณาการการจัดการศึกษาเพื่อท้องถิ่น : กรณีศึกษาวิชา
เคมีสิ่งแวดล้อม ชุมชนบ้านแม่แรง อำาเภอป่าซาง จังหวัดลำาพูน. สำาหรับนักศึกษาปริญญาตรี.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
ณรงค์พันธ์ ฉุนรัมย์ และคณะ่. (2548) . โครงการบูรณาการการจัดการศึกษาเพื่อท้องถิ่น : กรณีศึกษา วิชา
หลักการจัดการลุ่มนำ้าแม่สา. สำาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
ดวงเดือน ศรีมาดี. (2557). รูปแบบการส่งเสริมการบริจาคโลหิตของประชาชนจังหวัดร้อยเอ็ด.
วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
บุญชม ศรีสะอาด. (2535). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สำานักพิมพ์ชมรมเด็ก.
บุญล้วน อุดมพันธ์. (2555). รูปแบบการพัฒนาความเข้มแข็งของสหกรณ์การเกษตรภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
เพ็ญจันทร์ ประจันตะเสน. (2554). รูปแบบการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน
ธนาคารพาณิชย์. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2550). เทคนิคการสอนและวิธีการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.
ศรีวรรณ ไชยสุข. (2547). สรุปผลการดำาเนินงาน : ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2547. เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ
สำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
สนธยา พลศรี. (2550). เครือข่ายการเรียนรู้ในงานพัฒนาชุมชน. กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์.
สายฝน วังสระ. (2552). การวิจัยและพัฒนาโปรแกรม 4-เอช เพื่อพัฒนาภาวะผู้นำาของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยการศึกษา
ภาควิชาวิจัยและจิตวิทยาการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อวยชัย วะทา. (2554). กลยุทธ์การพัฒนาผู้นำาองค์กรชาวบ้านเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์ป่าชุมชน
จังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา
ภูมิภาคบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคามBanzaert Amy. (2006). Experiments in Service Learning. Fulfllment of Requirements
for Degree of Master of Science in Mechanical Engineering.
Gloria J. (2003). Nichols-English, Catherine A. White and Paul J. Brooks. Bridging Com
munity Based Pharmacy Outreach with ServiceLearning Principles. American
Journal of Pharmaceutical Education Vol. 66, Summer. p 124-131.
Natalie A. (2008) . Tran. The Connection between students’ out-of-school experience
and science learning. Degree of doctoral of philosophy educational leader
ship and policy analysis, University of wisconsin-madison.
Randy Stoecker . (2014). Extension and Higher Education Service-Learning : Toward a
Community Development Service-Learning Model. Journal of Higher Education
Outreach and Engagement, Volume 18, Number 1, p.15