การท่องเที่ยวในเขตเมืองและการพัฒนา:กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี

บทคัดย่อ

การท่องเที่ยวในเขตเมือง เป็นประเด็นใหม่ที่ยังไม่ค่อยมีการศึกษามากนักในการทำความเข้าใจกับมิติกายภาพที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบของการท่องเที่ยวแบบเมือง กับการวางแผนการพัฒนาเมืองเพื่อการท่องเที่ยวในเขตเมือง บทความวิชาการฉบับนี้ ได้ทำความเข้าใจในการท่องเที่ยวแบบเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยศึกษานิยาม ทฤษฎี แนวความคิดที่เกี่ยวข้องของการท่องเที่ยวแบบเมือง องค์ประกอบการท่องเที่ยวแบบเมือง ศึกษานักท่องเที่ยวรูปแบบต่างๆและภาคีที่เกี่ยวข้อง มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวแบบของเมืองของกรุงเทพมหานคร โดยเน้นมิติด้านกายภาพเป็นหลัก เพื่อเข้าใจถึงสถานการณ์และปัญหาของการท่องเที่ยวแบบเมืองและการพัฒนาเมืองของกรุงเทพมหานคร ในองค์ประกอบหลัก(Primary Elements) องค์ประกอบรอง (Secondary Elements) และ องค์ประกอบส่วนเพิ่ม (Additional Elements) ในบทความนี้  มีความมุ่งหมายเพื่อการทำความเข้าใจกับการท่องเที่ยวในเขตเมืองกับความสัมพันธ์และความสำคัญของการพัฒนาเมืองและการบูรณาการของหน่วยงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาการท่องเที่ยวในเขตเมืองของกรุงเทพมหานครให้เป็นเมืองท่องเที่ยวชั้นนำอย่างยั่งยืนต่อไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรุงเทพธุรกิจ. (2562). กรุงเทพฯ คว้าอันดับ 2 เอเชีย พัฒนาไมซ์อย่างยั่งยืน. [ออนไลน์] ได้จาก: http://www.bang kokbiznews.com/news/detail/822917 [สืบค้นเมื่อ 31 มกราคม 2562].

คณะกรรมาธิการปฏิรูปการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์ การท่องเที่ยวและบริการ. (2558). รายงานวาระพัฒนาการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: สภาปฎิรูปแห่งชาติ.

ฉัตรชัย พงศ์ประยูร. (2540). แนวความคิดเกี่ยวกับภูมิภาคและการพัฒนาพื้นที่. กรุงเทพฯ: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ฐานเศรษฐกิจ. (2560). ขีดความสามารถการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของไทยในปี 2560 อยู่อันดับ 34 ของโลก. [ออนไลน์] ได้จาก: http://www.thansettakij.com/content/142412 [สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2562].

ประชาชาติธุรกิจ. (2561). ย้ายเรียบกระทรวงใหญ่ คุมผังอาคารเกาะรัตนโกสินทร์. [ออนไลน์]. ได้จาก: www.prachachat. net/tourism/news-210247 [สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2562].

ประชาชาติธุรกิจ. (2561). ราชประสงค์ ดิสทริกต์ จุดหมายท่องเที่ยวระดับโลก. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://www.prach achat.net/tourism/news-182931 [สืบค้นเมื่อวันที่ 29 มกราคม 2562].

ประชาไท. (2561). แผนพัฒนาเกาะรัตนโกสินทร์ฉบับใหม่ หรือจะเปลี่ยนเมืองเป็นพิพิธภัณฑ์ไร้ชีวิต?. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://prachatai.com/journal/2018/08/78500 [สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2562].

เพชรลัดดา เพ็ชรภักดีและคณะ. (2560). การพัฒนาประเทศสิงคโปร์: กระบวนการ การเปลี่ยนผ่าน และความท้าทาย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งประเทศไทย.

สถาบันบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2551). กำหนดเขตพัฒนาการท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร และหมู่เกาะทะเลใต้ (เกาะสมุย เกาะพะงัน และเกาะเต่า). กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สยามธุรกิจ. (2561). “ราชประสงค์” โชว์ “R-Walk” เผยแผนสู่ Smart District ย้ำต้นแบบธุรกิจไลฟ์สไตล์. [ออนไลน์]. ได้จาก: https://siamturakij.com/news [สืบค้นเมื่อ 25 มกราคม 2562].

สันติพจน์ กลับดี. (2559). กรุงเทพมหานคร จุดหมายปลายทางยอดนิยมของนักท่องเที่ยว. [ออนไลน์]. ได้จาก: http:// www.aseanthai.net/mobile_detail.php?cid=4&nid=6375 [สืบค้นเมื่อ 29 มกราคม 2562].

สุประภา สมนักพงษ์. (2560). แนวโน้มและตลาดการท่องเที่ยว 4.0 ประเทศไทย. Veridian E-Journal, 10(3), 2055-63.

อนันต์ เกตุวงศ์. (2541). หลักและเทคนิคการวางแผน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อนิวัช แก้วจำนงค์. (2556). หลักการจัดการ. สงขลา: นำศิลป์โฆษณา.

Certo, C. (2000). Modern management : diversity, quality, ethics, & the global environment. N.J.: Prentice Hall.

CNN Travel. (2018). Best 23 cities for street food from Miami to Tokyo. [Online]. Retrieved from:

https://edition.cnn.com/travel/article/best-cities-street-food/index.html [accessed 28 January 2562].

Couch., C. (1990). Urban Renewal: Theory and Practice. London: Macmillan Education. Dennemann, C., & Annekatrin, C. (2000). Urban regeneration and. Cities, 17(2), 137–147.

Judd, R., & Fainstein, S. (1999). The Tourist City. New Heaven, CT.: Yale University Press.

Law, C. (2002). Urban Tourism: The Visitor Economy and the Growth of Large Cities. London: Continuum.

Lui, Z. (2003). Sustainable tourism development: a critique. Journal of Sustainable Tourism, 11(6), 459-475.

Mullins., P. (1999). International tourism and the cities of Southeast Asia. D.R. Judd, and S.S. Fainstein, The tourist city. New Heaven: Yale University Press.

Netherlands Embassy in Bangkok. (March 2017). Tourism industry in Thailand. [Online]. Retrieved from: www.rvo.nl/sites/default/files/2017/06/factsheet-toerisme-in-thailand. [accessed 30 January 2562].

Chon, S. (1997). Convention participation decision-making process. Annals of Tourism Research, 24(1), 178-191.

Page, J. & Ashworth, G. (2011). Urban tourism research: Recent progress and current. Tourism Management, 20(3), 1-15.

The Centre For Liveable Cities. (2015). Urban System Study/ Planning for Tourism: Creating A. Singapore: The Centre For Liveable Cities.

Uysal, U. E. (2015). Urban tourism in Istanbul: Urban regeneration, mega-events and city. Helsinki: University of Helsinki.

Verbeke, J. (1996). Scanning museum visitors: Urban tourism marketing. Annals of Tourism, 20(3), 231-253.