AEROBIC EXERCISE: EXERCISE FOR PREVENTION OF NONCOMMUNICABLE DISEASES

Main Article Content

วายุ กาญจนศร

บทคัดย่อ

องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้สำรวจพบว่าโรคที่มีส่วนทำให้ประชากรเสียชีวิตมากที่สุด (ร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมดทั่วโลก) คือ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรคอ้วน เป็นต้น สาเหตุมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น การขาดการออกกำลังกาย ดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ รับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ เครียดบ่อย เป็นต้น การออกกำลังกายแบบแอโรบิกเป็นพื้นฐานสำคัญอันดับแรกของการพัฒนาสมรรถภาพร่างกาย ช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ เช่น การปั่นจักรยาน การว่ายน้ำ การเดินเร็ว พายเรือ เต้นแอโรบิก จ๊อกกิ้ง การวิ่ง กระโดดเชือก เป็นต้น หลักการ คือ มีความหนักของกิจกรรมระดับปานกลาง มีความต่อเนื่องอย่างน้อย 10 นาทีต่อครั้ง ประมาณ 3 วันต่อสัปดาห์ หรือรวมแล้วให้ได้เวลา 150 ถึง 300 นาทีต่อสัปดาห์ เลือกชนิดของการออกกำลังกายให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย ความชอบ ความสะดวก ความถนัด และต้องมีความปลอดภัย ตามแนวคิด FITTS สุดท้ายควรควบคุมอาหาร เพิ่มการเสริมสร้างกล้ามเนื้อมัดใหญ่และการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ

Article Details

บท
บทความปริทัศน์ (Review Article)

References

การกีฬาแห่งประเทศไทย. (2544). นิยามคำศัพท์กีฬา. กรุงเทพฯ: นิวไทยมิตรการพิมพ์ (1996).

กณิกนันต์ บานชื่น และหริลักษณ์ บานชื่น. (2559). พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

กรมพลศึกษา. (2555). แอโรบิกดานซ์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

ซานจิฟ โซปรา และคณะ. (2557). คัมภีร์สุขภาพ Doctor Chopra Says: Medical Facts and Myths Everyone Should Know. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.

วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2548). ปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพื่อประเมินทางพลศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคมและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2555). สถานการณ์การมีกิจกรรมทางกายของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

สนธยา สีละมาด. (2560). หลักการฝึกกีฬาสำหรับผู้ฝึกสอนกีฬา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

American College of Sports Medicine. (2010). ACSM’s Guidelines for Exercise Testing and Prescription. 8th. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins.

Cheng, S. L., Sun, H. F., & Yeh, M. L. (2017). Effects of an 8-week Aerobic Dance Program on Health-Related Fitness in Patients with Schizophrenia. Retrieved January 17, 2018, from https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/28187054

Cooper Aerobics health and wellness. (2018a). Aerobic vs Cardiovascular Exercise. Retrieved November 14, 2018, from https://cooperaerobics.wordpress.com/tag/aerobic-excerise/

Cooper Aerobics health and wellness. (2018b). The 5 Best Aerobic Exercise for Maximum Health Benefit. Retrieved November 19, 2018, from https://cooperaerobics.com/Health-Tips/Fitness-Files/Top-Five-Aerobic-Activities.aspx

Miller, W. C., Koceja, D. M., & Hamilton, E. J. (1997). A Meta-Analysis of the Past 25 Years of Weight Loss Research Using Diet, Exercise or Diet Plus Exercise Intervention. Retrieved March 27, 2019, from https://www.nature.com/articles/0800499

Ricketts, D. (2018). Benefits of Aerobic Exercise. Retrieved November 28, 2018, from https://study.com/academy/lesson/what-is-aerobic-exercise-definition-benefits-examples.html

Radmila, K., Ratomir, D., Durdica, M., & Milena, M. (2006). Changes in the Cardiovascular Fitness and Body Composition of Women under the Influence of the Aerobic Dance. Retrieved January 5, 2015, from http://facta.junis.ni.ac.rs/pe/pe2006/pe2006-07.pdf

Weil, R. (2018). Aerobic Exercise. Retrieved November 20, 2018, from https://www.medicinenet.com/aerobic_exercise/article.htm#what_is_aerobic_exercise

Whelton, S. P., Chin, A., Xin, X., & He, J. (2002). Effect of Aerobic Exercise on Blood Pressure: A Meta-Analysis of Randomized, Controlled Trials. Retrieved March 27, 2019, from https://annals.org/aim/article-abstract/715201/effect-aerobic-exercise-blood-pressure-meta-analysis-randomized-controlled-trials

World Health Organization. (2017). The Impact of Chronic Disease in Thailand. Retrieved March 3, 2017, from http://www.who.int/gho/ncd/en/

World Health Organization. (2018a). Noncommunicable Diseases. Retrieved April 5, 2019, from https://www.who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases

World Health Organization. (2018b). Global Recommendations on physical activity for health. Retrieved November 8, 2018, from http://http://www.who.int/dietphysicalactivity/factsheetrecommendations/en/

World Health Organization. (2019). Major NCDs and their risk factors. Retrieved April 4, 2019, from https://www.who.int/ncds/introduction/en/