การควบคุมภายในเพื่อการวางแผนการจัดการความเสี่ยงของสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) จังหวัดปทุมธานี
คำสำคัญ:
การควบคุมภายใน, การบริหารจัดการความเสี่ยง, สำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (พกฉ.)บทคัดย่อ
การควบคุมภายในเป็นกระบวนการปฏิบัติ เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในการดำเนินงานของสำนักงานพิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (องค์การมหาชน) โดยมีความเสี่ยงหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงในส่วนของปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอก ส่งผลกระทบให้การดำเนินงานไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้
การควบคุมภายในจึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง ต่อการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายเป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงานของบุคลากรตามนโยบายที่กำหนดไว้ ซึ่งต้องมีการวิเคราะห์ให้ทันต่อสถานการณ์ปัจจุบันและวางแผนไปถึงอนาคต เพื่อให้บุคลากร มีการปฏิบัติงานในทิศทางเดียวกัน รวมถึงสร้างการรับรู้ให้บุคลากรได้ตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสี่ยงขององค์กร เพื่อที่จะทำให้การดำเนินงานขององค์กร บรรลุถึงเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพสูงสุด
References
กระทรวงการคลัง. (2561). หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง ว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2566 จาก https://www.moj.go.th/view/22999
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2565). คูมือจัดทำแผนบริหารความเสี่ยงยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2566 จาก https://spd.moph.go.th/wp-content/uploads/2023/05/Risk-Management-Plan-Manual-for-web.pdf
จิณห์ระพีร์ พุ่มสงวน. (2561). การควบคุมภายในตามแนวทางของ COSO. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2566 จากhttps://med.mahidol.ac.th/risk_mgt/th/article/03092016-0912
ปทุมพร หิรัญสาลี. (2566). อิทธิพลของการควบคุมภายในที่ดีต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. Journal of Roi Kaensarn Academi, 8(5), 33-48
มัตธิมา กรงเต้น และ กัลยาภรณ์ ปานมะเริง. (2565). การศึกษาระดับความคิดเห็นของการบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายใน ที่ส่งผลต่อลดความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง ผลการดำเนินงานและมูลค่ากิจการของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารศิลปการจัดการ, 6(3), 1315-1330.
รัชนี เล่าโรจนถาวร, ดาลัดฌลา คุณสิริสิน, กรรณิการ์ มานะกล้า, และพรรณทิพย์ อย่างกลั่น. (2565). ระบบการควบคุมภายในส่งผลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจ SMEs ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์แห่งรัตนโกสินทร์, 3(3), 13-24.
สรัญญา ทั้งสุข และกมลทิพย์ คำใจ. (2561). การประเมินผลการควบคุมภายใน และแนวทางการพัฒนาระบบการควบคุมภายในของเทศบาลในเขตจังหวัดเชียงใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 7(2), 141-154.
เสาวลักษณ์ ไชยนันทน์. (2565). การศึกษาระบบการควบคุมภายในของมูลนิธิในจังหวัดภูเก็ต. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์, 8(1), 50-65.
สราวุธ ดวงจันทร์ และ ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์. (2561). ระบบการควบคุมภายในที่ดีและธรรมาภิบาลที่มีต่อผลการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 5(3), 895-913.
สิริณดา ฆารสว่าง และกฤตพา กฤตพา. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการควบคุมภายในตามแนวคิด COSO กับการปฏิบัติงานด้านการเงิน และบัญชีของโรงพยาบาลชุมชนในสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ, 13(1), 34-47.
อุษณา ภัทรมนตรี. (2560). การตรวจสอบภายในสมัยใหม่ แนวคิดและกรณีศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อมรรัตน์ โคบุตร์. (2563). การควบคุมภายในตามแนวทาง COSO ที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการควบคุมภายในของสำนักงานสรรพากรภาค 1 ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(10), 289-299.
McNally J. S. (2013). The 2013 COSO Framework & SOX Compliance: One approach to an effective transition. Retrieved on June 9, 2023 from https://www.coso.org/Shared%20Documents/COSO-McNally-Transition.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ ในการตีพิมพ์บทความ
จะโชว์ตอนที่ ผู้ส่งบทความ ตีพิมพ์ ต้องกด accept