เศรษฐกิจชุมชน : หุ้นส่วนการพึ่งพาตนเองผ่านแนวคิดสวัสดิการชุมชน

ผู้แต่ง

  • ทศพร แก้วขวัญไกร

บทคัดย่อ

สวัสดิการชุมชนเป็นแนวคิดภายใต้ฐานการพึ่งพาตนเองของชุมชนที่มีการรวมกลุ่มในการช่วยเหลือเกื้อกูลและมีน้ำใจกันของคนในชุมชน ที่มีการพัฒนาและยกระดับความคิดของชุมชน เริ่มจากฐานรากจิต-วิญญาณเดียวกัน อันประกอบด้วย ความคิด ความเชื่อ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา นำมาหล่อหลอมเป็นหมุดยึดในการสร้างระบบของตนเองที่เกิดจากการพึ่งพาตนเองของชุมชนเป็นหลัก ในการช่วยเหลือซึ่งกันและกันตามความต้องการขั้นพื้นฐานและความยุติธรรมอย่างเป็นธรรมของคนในสังคม เนื่องจากการจัดสวัสดิการของภาครัฐบาลไม่สามารถตอบสนองความต้องการที่แท้จริงอันหลากหลายได้ในแต่ละชุมชน ทำให้แนวคิดสวัสดิการชุมชนมีบทบาทสำคัญในการสร้างให้ชุมชนพึ่งพาตนเองอย่างมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและกำหนดทิศทางของชุมชนตนเองในรูปแบบหุ้นส่วน และสร้างเครือข่ายในการยกระดับสวัสดิการชุมชนให้เข้มแข็งต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์โลกได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน

References

เกริกเกียรติ พิพัฒน์เสรีธรรม. (2552). การคลังว่าด้วยการจัดสรรและการกระจาย. (พิมพ์ครั้งที่ 9 แก้ไข

ปรับปรุง). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

คณะกรรมการปฏิรูประบบสวัสดิการสังคมที่เหมาะสมกับประเทศไทย สภาปฏิรูปแห่งชาติ. (2558). วาระ

ปฏิรูปที่ 29: สวัสดิการสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภา

ผู้แทนราษฎร.

คะนอง พิลุน. (2560). การจัดสวัสดิการชุมชน กรณีศึกษาบ้านฮองฮี ตำบลยางตลาด อำเภอยางตลาด

จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการเมืองการปกครอง., 7(2),287-291.

จินตนา กาศมณี. (2557). การจัดสวัสดิการชุมชนโดยภาคประชาชนในกรุงเทพมหานคร: กรณีศึกษา

เครือข่ายกองทุนสวัสดิการชุมชน เขตคันนายาว (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต).

กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกริก.

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (2557). การเป็นสมัยใหม่กับแนวคิดชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สร้างสรรค์บุ๊คส์ จำกัด.

ฉัตรทิพย์ นาภสุภาและวันวร จะนู. (2555). แนวคิดวัฒนธรรมชุมชนในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท

สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด.

ณรงค์เพ็ชรประเสริฐ. (2546). บทสังเคราะห์ภาพรวมการพัฒนาระบบสวัสดิการสำหรับคนจนและคนด้อย

โอกาสในสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1 เดือนธันวาคม 2546, บ.แอดิสันเพรส โปรดักส์จำกัด.

ดาวราย ลิ่มสายหั้ว. (2562). การบริหารจัดการสวัสดิการผู้สูงอายุขององค์การบริหารส่วนตำบลอ้อมเกร็ด

อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี. วารสารมนุษยสังคมปริทัศน์ (มสป.)., 21(1), 65-79.

ทศพร แก้วขวัญไกรและคณะ. (2563). รูปแบบพฤติกรรมและความต้องการของกลุ่มชุมชนผู้ยากลำบาก

กรณีศึกษาหมู่บ้านสง่างาม หมู่ 15 ตำบลสะแกซำ อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัย มข.

สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา)., 8(3), 51-63.

ธนาชัย สุนทรอนันตชัย. (2559). ความเท่าเทียม ความเสมอภาค และความเป็นธรรมทางสังคมกับการจัด

สวัสดิการสังคมของประเทศไทย. วารสารวิชาการคณะนิติศาสตร์ มฉก., 7(2), 52-65.

นิตยา ดอกไม้และคณะ. (2557). การบริหารจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชนเชิงกลยุทธ์ กรณีศึกษา: กองทุน

สวัสดิการชุมชน ตำบลพรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. สักทอง: วารสาร

มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎกำแพงเพชร., 20(3), 101-114.

บุญฤทธิ์ ทำมืดและคณะ. (2558). ระบบสวัสดิการที่เหมาะสมกับชุมชนชาวนาเพื่อรองรับภัยแล้ง บ้านหนอง

บัวแปะ ตำบลสร้างแซ่ง อำเภอยางสีสุราช จังหวัดมหาสารคาม (รายงานฉบับสมบูรณ์).

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

พเยาว์ หาดสมบัติและคณะ. (2562). โครงการแนวทางการบริหารจัดการกลุ่มกองทุนสวัสดิการชุมชนที่

เหมาะสมกับบริบทชุมชนตำบลบางนางลี้ อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม ระยะที่ 2

(รายงานฉบับสมบูรณ์). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

พระคมสัน เจริญวงค์. (2562). กระบวนการการจัดการกองทุนสวัสดิการชุมชนเพื่อความมั่นคงของชุมชน.

วารสารสันติศึกษาปริทรรศน มจร., 7(4), 939-950.

พิทยา ว่องกุล. (2550). หลักคิดและการพัฒนาธุรกิจชุมชน-วิสาหกิจชุมชนแบบองค์รวมที่ยั่งยืน. ใน

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐและพิทยา ว่องกุล (บรรณาธิการ), วิสาหกิจชุมชน: กลไกเศรษฐกิจฐานราก.

(น. 41-68). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพรัช บวรสมพงษ์. (2555). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเชิงประยุกต์ในการส่งเสริมการจัด

สวัสดิการชุมชน กรณีศึกษาอำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี (รายงานผลการวิจัย).

กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

มงคล เลากลางและคณะ (2553). ศึกษารูปแบบการจัดสวัสดิการที่เหมาะสมสำหรับคนพิการ ตำบลบ้าน

ปรางค์ อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา (รายงานฉบับสมบูรณ์). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

(สกว.).

ระพีพรรณ คำหอม. (2557). สวัสดิการสังคมกับสังคมไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร:

ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.

รัตติยา พนาจันทร์. (ไม่ระบุปีพิมพ์). การส่งเสริมประชาชนเป็นหุ้นส่วนร่วมกับรัฐในการจัดสวัสดิการสังคม.

ในสำนักกรรมาธิการ 3 สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2564, จาก

https://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/25_people/ewt_dl_link.php?nid=10

&filename=index

วาสนา พิทักษ์ธรรม. (2554). การจัดการธุรกิจชุมชน ในรูปแบบของวิสาหกิจชุมชนและธุรกิจชุมชน

กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี (งานวิจัยฉบับสมบูรณ์).

มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.

วิมลพรรณ กุญแจทอง. (2551) แนวทางการส่งเสริมการจัดสวัสดิการชุมชนเมือง :กรณีศึกษาชุมชนโค้ง

รถไฟยมราช. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์/กรุงเทพฯ.

DOI: https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/TU.the.2008.132

ศิริพร ยอดกมลศาสตร์.(2550). “เงิน” ไม่ใช่เป้าหมายของการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน. ใน

ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐและพิทยา ว่องกุล (บรรณาธิการ), วิสาหกิจชุมชน: กลไกเศรษฐกิจฐานราก.

(น. 71-86). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2550). สวัสดิการชุมชนท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2552). คู่มือการดำเนินงานโครงการสนับสนุนการจัด

สวัสดิการชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แอ๊ปป้า พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด.

สมศักดิ์ สามัคคีธรรมและสุพรรณี ไชยอำพร. (2560). สวัสดิการชุมชนกับการสร้างความเข้มแข็งในเขต

กรุงเทพมหานคร. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก., 35(1), 140-161.

สำนักงานปลัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2564). พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัด

สวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติมในพระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม

(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. ในกฎหมายการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. สืบค้นเมื่อ

ตุลาคม พ.ศ. 2564, จากhttp://law.m-society.go.th/law2016/law/view/652

สุพิชชา เอกระ. (2559). การจัดการสวัสดิการผู้สูงอายุในกลุ่มชุมชนคนจนเมือง: กรณีศึกษาชุมชนหมู่บ้าน

พลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และ

สังคมศาสตร์., 11(2), 113-124.

อภิสรา ชุ่มจิตร, นิศา ชัชกุลและเครือวัลย์ ชัชกุล. (2557). การพัฒนาศักยภาพการจัดการธุรกิจชุมชน

กรณีศึกษา: ตำบลคลองเคียน อำเภอตะกั่วทุ่ง จังหวัดพังงา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ

ภูเก็ต., 10(2), 94-114.

อุทัย ปริญญาสุทธินันท์. (2563). สิทธิและสวัสดิการสังคม. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

Holley H. Ulbrich. (2011). Public Finance in Theory and Practice, Routledge.

Lyson, T. A. (2006). Big Business and Community Welfare. American Journal of Economics

& Sociology, 65(5), 1001-1023. htts://doi.org/10.111/j.1536-7150.2006.00489.x

O’Kane, G. (2020). Creating place-based health and wellbeing networks in rural and remote

communities. Australian Journal of Rural Health, 28(1), 97-98.

เผยแพร่แล้ว

20-12-2021