เดินเรียนแรลลี่ : การเทียบการเรียนเชิงรุกระหว่างห้องเรียนออนไลน์และห้องเรียนปกติ
บทคัดย่อ
การเรียนการสอนออนไลน์กำลังเป็นที่แพร่หลายในยุคปัจจุบัน หากแต่ขาดบรรยากาศในการเรียน ทำให้แรงจูงใจในการเรียนลดน้อยลง งานวิจัยนี้ศึกษาผลตอบรับจากนักศึกษาในกิจกรรมหาคำตอบจากสถานที่ต่าง ๆ ภายในมหาวิทยาลัย (Rally) โดยเปรียบเทียบกิจกรรมการเรียนเชิงรุก (Active Learning) ที่ผู้เรียนจะเดินในสถานที่จริง (ก่อนการระบาดของ COVID-19 ในประเทศไทย) และการเรียนการสอนออนไลน์ในช่วงการระบาดระลอก 2 โดยใช้ Google Maps ช่วยในการหาคำตอบ งานวิจัยนี้ใช้การรายงานผลเชิงพรรณนา หลังจากจัดกิจกรรม พบว่าผู้เรียนที่ชื่นชอบกิจกรรมรู้สึกสนุก และมีทัศนคติที่ดีต่อวิชาภาษาอังกฤษมากขึ้น ส่วนผู้เรียนที่ไม่พอใจกับกิจกรรมในสถานที่จริงจะรู้สึกเหน็ดเหนื่อย ซึ่งผู้สอนควรแนะนำการวางแผนการหาคำตอบ เพื่อประหยัดเวลาและย่นระยะทางการเดิน ปัญหาที่คล้ายคลึงกันในการเรียนการสอนทั้ง 2 รูปแบบคือ ในสถานที่จริง มีผู้เรียนบางส่วนที่ขาดความรับผิดชอบ โดยใช้เวลาในคาบเรียนไปซื้อของส่วนตัว และในการเรียนออนไลน์ คนที่ขาดความรับผิดชอบจะให้เพื่อน ๆ ในกลุ่มทำงานแทน ผู้วิจัยจึงเสนอแนะว่า ในการเรียนการสอนออนไลน์นั้นผู้สอนควรมอบหมายงานเดี่ยว อย่างไรก็ตาม งานวิจัยในอนาคตควรพัฒนากลยุทธ์การสอนออน์ไลน์ที่กระตุ้นให้ผู้ที่ขาดความรับผิดชอบสามารถพัฒนาแรงจูงใจในการเรียนได้
References
ทรงลักษณ์ สกุลวิจิตร์สินธุ. (2560). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ร่วมกันทางออนไลน์. Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 10(2): 437-450.
ปริญญาภรณ์ ธนะบุญปวง, ศิริเดช สุชีวะ, และ โชติกา ภาษีผล. (2560). การพัฒนาแบบวัดความรับผิดชอบของนักศึกษาพยาบาลศาสตร์. วารสารพยาบาลทหารบก, 18(2): 212-219.
พิเชษฐ แซ่โซว, ชูศักดิ์ ยืนนาน และ นัฐิยา เพียรสูงเนิน. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ในการศึกษาพยาบาลภายใต้สถานการณ์การระบาดของโรค COVID-19. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล, 26(2): 189-202.
ฟารีดา หีมอะด้ำ และ รัตนะ บัวสนธ์. (2564). การออกแบบสร้างสรรค์นวัตกรรมทางการวัดผลการเรียนรู้. วารสารมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 15(1): 15-26.
รัชดากร พลภักดี. (2563). การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์ COVID-19. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 19(1): 1-5.
วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันต์, และ จรรยา คนใหญ่. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19 : แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9: วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม, 14(34): 285-298.
ศรุดา ชัยสุวรรณ, เสน่ห์ สีตลารมณ์, และ วีรจักร แสงวงศ์. (2563). การพลิกโฉมอุดมศึกษาไทยในยุคภาวะวิกฤตผู้เรียน. วารสารวิชาการสถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 6(1): 686-702.
สีขาว เชื้อปรุง, กนลา ชาญวิรัตน์, ปาริชาติ แซ่ว่อง, และ ประชาสันต์ แว่นไธสง. (2564). นวัตกรรมการออกแบบแผนงานการจัดการเรียนการสอน ภาคสนามออนไลน์ ของรายวิชาชนบทศึกษาทางการแพทย์ในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19. วารสารราชพฤกษ์, 19(1): 12-20.
สุนิสา สิงห์แก้ว และ ภาวิณี ศรีสุขวัฒนานันท์. (2563). การใช้เทคนิคการสอนของอาจารย์สายสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงการระบาดของไวรัสโควิดในประเทศระยะแรก. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 35(3): 131-141.
อมรา ติรศรีวัฒน์. (2563). การประเมินข้อดีและข้อด้อยของการจัดการเรียนการสอนบัญชีออนไลน์ในวิชาด้านการบัญชีโดยนักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาบัญชี มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ: ในสถานการณ์ของการรักษาระยะห่างทางสังคมช่วงโรคระบาด COVID-19. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ, 9(2): 179-194.
เอกลักษณ์ แก้วปรารถนา และ ศรีสมร พุ่มสะอาด. (2563). แนวทางการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนจ่าอากาศ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นายเรืออากาศ, 8: 31-41.
Adam, A. (2017). Understanding the motivational and behavioural factors behind PSL fans in South Africa (Master's thesis, University of KwaZulu-Natal).
Alves, I. R. S., Mancebo, M. C., Boncompagno, T. C. S., Júnior, W. D. O., Romão, E. C., & Garcia, R. V. (2019). Problem-Based Learning: A Tool for the Teaching of Definite Integral and the Calculation of Areas. International Journal of Information and Education Technology, 9(8): 589-593.
Arunrangsiwed, P. (2014). The Experimental Research Design of Animation-Based Learning Research [Oral presentation]. The 10th National and International Social Science Symposium: Social Innovation for Sustainable Development in ASEAN Community (pp. 25-32). Chiang Rai, Thailand: Chiang Rai Rajabhat University.
Bensalem, E. (2021). Classroom enjoyment and anxiety among Saudi undergraduate EFL students: does gender matter? Vigo International Journal of Applied Linguistics, 18, 9-34. https://doi.org/10.35869/vial.v0i18.3363
Bojović, Ž., Bojović, P. D., Vujošević, D., & Šuh, J. (2020). Education in times of crisis: Rapid transition to distance learning. Computer Applications in Engineering Education, 28(6): 1467-1489. https://doi.org/10.1002/cae.22318
Carbonell-Carrera, C., & Saorín, J. L. (2017). Geospatial Google Street View with virtual reality: A motivational approach for spatial training education. ISPRS International Journal of Geo-Information, 6(9): 261. https://doi.org/10.3390/ijgi6090261
Crow, J., & Murray, J. A. (2020). Online distance learning in biomedical sciences: community, belonging and presence. In P. Rea (Ed.), Biomedical Visualisation (Advances in Experimental Medicine and Biology, vol. 1235) (pp. 165-178). Springer, Cham. https://doi.org/10.1007/978-3-030-37639-0_10
Cummings, J. (2020). Postgraduate Students' Experiences of Distance Learning (Doctoral dissertation, Queen’s University Belfast).
de Souza, G. H. S., Jardim, W. S., Junior, G. L., Marques, Y. B., Lima, N. C., & Ramos, R. S. (2020). Brazilian Students' Expectations Regarding Distance Learning and Remote Classes During the COVID-19 Pandemic. Kuram ve Uygulamada Egitim Bilimleri, 20(4): 65-80. https://doi.org/10.12738/jestp.2020.4.005
Fontana, M. T. (2020). Gamification of ChemDraw during the COVID-19 Pandemic: Investigating How a Serious, Educational-Game Tournament (Molecule Madness) Impacts Student Wellness and Organic Chemistry Skills while Distance Learning. Journal of Chemical Education, 97(9): 3358-3368. https://doi.org/10.46245/ijorer.v2i2.89
Kweldju, S. (2018). Using Googlemaps for Linguistic Landscape Activities in Self-Access Center: Improving English Department Students' Competencies. In Proceedings of the 4th International Conference on Human-Computer Interaction and User Experience in Indonesia, CHIuXiD'18 (pp. 89-92). ACM. https://doi.org/10.1145/3205946.3205959
Lee, J. S., & Lee, K. (2021). The role of informal digital learning of English and L2 motivational self system in foreign language enjoyment. British Journal of Educational Technology, 52(1): 358-373. http://doi.org/10.1111/bjet.12955
Leyton-Román, M., Guíu-Carrera, M., Coto-Cañamero, A., & Jiménez-Castuera, R. (2020). Motivational variables to predict autotelic experience and enjoyment of students. Analysis in function of environment and sports practice. Sustainability, 12(6): 2352. https://doi.org/10.3390/su12062352
Nagel, A. O., & Clary, R. M. (2020). Google Earth in Online Geosciences Classrooms. Active Learning in College Science, 697-711. https://doi.org/10.1007/978-3-030-33600-4_43
Nemati, F., Roohani, A., & Mirzaei, A. (2020). Investigating Foreign Language Enjoyment and Public Speaking Class Anxiety in the EFL Class: A Mixed Methods Study. Journal of Teaching Language Skills, 39(1): 115-152. http://doi.org/10.22099/jtls.2020.37330.2835
Rahimi, M., & Yadollahi, S. (2017). Effects of offline vs. online digital storytelling on the development of EFL learners’ literacy skills. Cogent Education, 4(1): 1285531. https://doi.org/10.1080/2331186X.2017.128553
Rocca, A. M. (2019). Google MyMaps: Mapping 4th Grade Geography and History. Social Studies Review, 57: 23-31.
Schukajlow, S., Blomberg, J., Rellensmann, J., & Leopold, C. (2021). Do emotions and prior performance facilitate the use of the learner-generated drawing strategy? Effects of enjoyment, anxiety, and intramathematical performance on the use of the drawing strategy and modelling performance. Contemporary Educational Psychology, 65: 101967. https://doi.org/10.1016/j.cedpsych.2021.101967
Yin, C. Y., & Lee, L. Y. (2019). Teaching chemical engineering students industrial symbiosis using online resources: A Singapore case study. Education for Chemical Engineers, 27: 28-34. https://doi.org/10.1016/j.ece.2019.01.001
Zhao, L., Hwang, W. Y., & Shih, T. K. (2021). Investigation of the Physical Learning Environment of Distance Learning Under COVID-19 and Its Influence on Students' Health and Learning Satisfaction. International Journal of Distance Education Technologies (IJDET), 19(2): 61-82. http://doi.org/10.4018/IJDET.20210401.oa4
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสหวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ ในการตีพิมพ์บทความ
จะโชว์ตอนที่ ผู้ส่งบทความ ตีพิมพ์ ต้องกด accept