แนวทางการตลาดในการสร้างมูลค่าเพิ่มของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา

ผู้แต่ง

  • รุ่งรัตน์ หัตถกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

คำสำคัญ:

การตลาด, การสร้างมูลค่าเพิ่ม , การท่องเที่ยวเชิงกีฬา

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง แนวทางการตลาดในการสร้างมูลค่าเพิ่มของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดของกระบวนการทางการตลาดในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้การท่องเที่ยวเชิงกีฬา และเพื่อเสนอแนะแนวทางการตลาดในการสร้างมูลค่าเพิ่มของการท่องเที่ยวเชิงกีฬา ผลการศึกษาพบว่า การสร้างมูลค่าเพิ่มของธุรกิจต้องอาศัยเครื่องมือสร้างโมเดลธุรกิจคือ Value Proposition Canvas เพื่อช่วยให้สามารถพัฒนาสินค้าหรือรูปแบบการให้บริการตามความต้องการลูกค้า สำหรับแนวทางการตลาดนั้นควรมีการผสมผสานเอกลักษณะที่โดดเด่นของพื้นที่และประเทศนั้น ๆ ให้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาด้วย

Author Biography

รุ่งรัตน์ หัตถกรรม, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

Thailand Citation Index Center

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (DBD) กระทรวงพาณิชย์. (2559). คู่มือการพัฒนามูลค่าเพิ่ม (Value Creation Handbook). สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2563 จาก https://www.dbd.go.th/download/article/article_20161103115457.pdf.

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการพัฒนารูปแบบทางธุรกิจของการท่องเที่ยวเชิงกีฬาของไทย (Sports Tourism) ประจำปี 2560. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2563 จาก https://secretary.mots.go.th/ewtadmin/ewt/policy/article_attach/FinalReport_SportsTourism2560.pdf.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.). (2562). การอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างอัตลักษณ์ท้องถิ่นและการท่องเที่ยวอย่างรับผิดชอบ” ณ จังหวัดสตูล. สืบค้นเมื่อ 10 เมษายน 2563 จาก https://www.tatacademy.com/th/news/312.

เทิดชาย ช่วยบำรุง. ศาสตราจารย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (3 เมษายน 2563). สัมภาษณ์.

World Tourism Organization and European Travel Commission. (2009). Handbook on tourism destination branding. Madrid, Spain: World Tourism Organization.

เผยแพร่แล้ว

09-06-2023