ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของผู้ประกอบการเอส เอ็ม อี สตาร์ทอัพ กรณีศึกษาเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์

ผู้แต่ง

  • รพีพรรณ พงษ์อินทร์วงศ์
  • อัจฉรา หลาวทอง
  • ทศพร แก้วขวัญไกร
  • กิตติกร ฮวดศรี

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

 

          บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายปัจจัยต่างๆ เช่น ปัจจัยด้านความคิดสร้างสรร ด้านเครือข่าย ด้านการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก กรณีศึกษาในเขตพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ การเริ่มดำเนินกิจการหรือธุรกิจที่มีแนวโน้มยอดขายลดลง มีความจำเป็นต้องมีองค์กรหรือหน่วยงานเข้ามาให้คำปรึกษา  การบูรณาการทฤษฏีฐานทรัพยากรขององค์การ และแนวคิดความสามารถเชิงพลวัตเป็นแนวคิดที่ใช้เพื่ออธิบายกรอบระบบการทำงานต่างๆ  ดังนั้น ความคิดสร้างสรรและการส่งเสริมความรู้ การให้คำปรึกษาและการมีเครือข่ายจะส่งผลให้ผู้ประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็กย่อมใหม่ (SMEs startup) ได้รับข้อมูลข่าวสาร ได้มีโอกาสเข้าไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิก SMEs  ด้วยกันก็จะทำให้เกิดความน่าจะเป็นที่องค์กรอยู่รอดและเข้มแข็ง บทความนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการที่จะนำไปใช้ในการทบทวนการพัฒนาองค์กรรวมทั้งหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องจะได้นำความรู้ไปใช้ในการพัฒนาแผนการดำเนินโครงการเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้มีส่วนได้เสียต่อไป

 

คำสำคัญ : ผู้ประกอบการใหม่เอส เอ็ม อี สตาร์ทอัพ, ความคิดสร้างสรรค์, นวัตกรรม, เครือข่าย, การสนับสนุนของหน่วยงานภาครัฐ

 

References

อ้างอิง
กรธวัฒน์ สกลคฤหเดช และคณะ. (2559). ความสามารถเชิงพลวัต ความได้เปรียบทางการแข่งขัน
และความส าเร็จของธุรกิจ อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย.
วารสารเกษมบัณฑิต ปีที่ 17 ฉบับที่ 2.
ธนิต โสรัตน์. (2562). เตือนแรงงานไทย!ปรับตัวเทคโนโลยีเสี่ยงทำตกงานพุ่ง. ผู้จัดการออนไลน์. ค้นเมื่อ
สิงหาคม 2562 จาก https://mgronline.com/business/detail/9620000016989
พะยอม ศรีสมัย. (2551). ความสัมพันธ์ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดวิจารณญาณ ความคิดสร้างสรรค์
และความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3. สาขาวิชาการวัดผลและวิจัยการศึกษา. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตง.
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ไพโรจน์ ปิยะวงศ์วัฒนา, อรุณรัตน์ ชินวรณ์, โสภาพร กล่ำสกุล และ คงขวัญ ศรีสะอาด. (2016, Sep – Dec 22-34). การเรียนรู้ขององค์กรและความสามารถเชิงพลวตัที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงาน. WMS Journal of Management Walailak University. Vol.5 No.3
มารศรี เจษฎาปฏิพัทธ์. (2552). อิทธิพลของคุณสมบัติของทรัพยากรความสามารถองค์การและ
ความสามารถของผู้ประกอบการต่อผลการดำเนินงานขององค์การ :
กรณีศึกษาธุรกิจรวบรวมและรับซื้อขยะรีไซเคิลในภาคตะวันออกของประเทศไทย.
วิทยานิพนธ์. สถาบันบัณฑิตพัฒนาบริหารศาสตร์.กรุงเทพ
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ .(2562). กิจกรรมเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ (New
Entrepreneurs Creation: NEC). กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. ค้นเมื่อ 10 กันยายน 2562.
จาก http://info.dip.go.th/โครงการ/โครงการหลกกสอ/NEC/tabid/131/Default.aspx.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2560- 2564. กรุงเทพฯ. สำนักนายกรัฐมนตรี.
Helfat, C. E. (1997). Know-How and asset complementarity and dynamic capability
Guilford, J.P. (1956). Structure of Intellect Psychological. New York :
McGraw-Hill Book Co. accumulation: the case of R&D.
Strategic Management Journal. 18(5): 339-360.
Wang, C. L. and Ahmed, P. K. (2007). Dynamic Capabilities: a review and research
agenda. International Journal of Management Reviews. 9(1): 31-51.
Wanerfelt. B. (1984). “ A Resource-Based Vew of the Firm” .Strategic Management Journal. 5(2): 171-180.
Teece, David J., Pisano, Gary, and Shuen, Amy. (1997). Dynamic Capabilities and Strategic
Management. Stategic Management Journal. Vol Vol. 18:7. 509–533 (1997)

เผยแพร่แล้ว

04-11-2019