การบริหารจัดการคนเก่งด้วยการจ้างงานตามสัญญาเพื่อสร้างความยืดหยุ่นในการรักษาคนเก่งของอุตสาหกรรมยานยนต์ กรณีศึกษาภาคตะวันออก
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการคนเก่ง , การจ้างงานตามสัญญา, อุตสาหกรรมยานยนต์บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงปริมาณมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบระดับความคิดเห็นการบริหารจัดการคนเก่งด้วยการจ้างงานตามสัญญาเพื่อสร้างความยืดหยุ่นในการรักษาคนเก่งของอุตสาหกรรมยานยนต์โดยกลุ่มตัวอย่างใช้สูตรขนาดตัวอย่างของ Cochran ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05จำนวน 400 คน รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการแบบสุ่มและนำผลมาวิเคราะห์สถิติผลการศึกษาพบว่า1) ความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารคนเก่งโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก(= 4.10)2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับกลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (=4.05)3) ความคิดเห็นเกี่ยวกับผลประโยชน์ของการใช้การจ้างงานตามสัญญามีความคิดเห็นโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง(=3.95)โดยความสัมพันธ์ระหว่างการจ้างงานตามสัญญาและปัจจัยส่วนบุคคลที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อรูปแบบการจ้างงานตามสัญญาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01ซึ่งความแปรปรวนของข้อมูลของรูปแบบการจ้างงานตามสัญญากับกลยุทธ์การบริหารจัดการคนเก่ง พบว่า ด้านเครื่องมือการจัดการโดยการจ้างงานตามสัญญา การจ้างงานตามสัญญา การบริหารรางวัลผลตอบแทน การบริหารผลปฏิบัติงาน การบริหารเส้นทางการเติบโตที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อรูปแบบการจ้างงานตามสัญญาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01และความแปรปรวนของข้อมูลรูปแบบการจ้างงานตามสัญญากับการบริหารความคาดหวังพบว่า การบริหารความคาดหวังในด้านผลประโยชน์ของการใช้การจ้างงานตามสัญญา ประโยชน์ต่อองค์กร ประโยชน์ต่อบุคลากรที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการคนเก่งด้วยการจ้างงานตามสัญญาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.01
Downloads
References
กรรนภัทรกันแก้ว. (2563). กลยุทธ์การจ่ายค่าตอบแทนกลุ่มคนเก่งและแรงงานข้ามชาติ. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.). 26(3), น.40-53.
กฤษดา เดชาธิพาโชติ, สักรินทร์ อยู่ผ่อง, วิเชียรเกตุสิงห์และอัคครัตน์ พูลกระจ่าง. (2566). การพัฒนารูปแบบศักยภาพผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรมผลิตอาหารขนาดย่อมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน. วารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ. 5(1), น. 15-27.
กัญจนวลัย นนทแก้ว แฟร์รี่. (2562). การสร้างความผูกพันต่อองค์กรของเจนเนอเรชั่น ซี.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 13(3), น. 10-25.
ไกรคุณ กาญจนประภาส และบุญญาดา นาสมบูรณ์.(2564). ทุนมนุษย์และอุปถัมภ์จากองค์กรส่งผลต่อความสำเร็จในอาชีพของ ผู้บริหารระดับกลางชาวไทยในบริษัทวิจัยและพัฒนายานยนต์. วารสารบริหารธุรกิจและภาษา. 9(1), น. 54-71.
จิรเมธ จันทโชติ, จิรัฏฐภัทร ทราฤทธิ์และกัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2565). จากมุมมองการบริหารผลงาน การบริหารคนเก่งสู่แนวทางการบริหารทรัพยากรมนุษย์. Journal of Roi KaensarnAcademi. 7(12), น. 450-465.
ธนเนศ ยุคันตวนิชชัย.(2559). การจัดการคนเก่งในกระแสโลกาภิวัตน์.วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 22(4), น.1-13.
พฤกษ์สุพรรณาลัย, จิราวรรณ ฤงฤล้ายและเฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน. (2560). การรักษาคนเก่งโดยการให้รางวัล. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2(11),
น. 241-250.
พงศ์ศรัณย์ อัศวชัยโสภณ และพัชรพร ลีพิพัฒน์ไพบูลย์.(2561). เมื่อโลกกำลังทำสงครามแย่งชิงคนเก่ง ประเทศไทยทำอะไรอยู่. ฝ่ายนโยบายโครงสร้างเศรษฐกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทย.ค้นเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2566, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/ Article_30Oct2018.aspx.
วิจิตรา ยาวิเลิง, จีรภามิ่งเชื้อและธนัสถา โรจนตระกูล. (2564). แนวทางการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสามารถพิเศษในมิติการสรรหา การพัฒนา และการธ ารงรักษาขององค์กรภาคเอกชนและองค์กรภาครัฐวิสาหกิจ. วารสารนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย. 5(2), น. 61-81.
ศูนย์สารสนเทศ สถาบันยานยนต์. (2562). ผู้ผลิตรถยนต์ในประเทศ. ค้นเมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2566 , จากhttps://data.thaiauto.or.th/auto/auto-manufacturer/auto-value-chain/auto-manufacturer-19.html.
Cochran, W.G. (1953) Sampling techniques. 3rd Edition. Wiley.
Milkovich, G. T., Newman, J. M., & Milkovich, C. (2002). Compensation. (8 ed). New York: McGraw-Hill.
Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric theory. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.
Lewis, R. E., & Heckman, R. J. (2006). Talent management: A critical review. Human resourcemanagement review. 16(2), 138-154.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรีและบุคลากรท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว