การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพกับการรับรู้ความสามารถด้านการสอน และจรรยาบรรณความเป็นครู ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ใช้วิธีการเชิงสำรวจ โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพกับการรับรู้ความสามารถด้านการสอนและจรรยาบรรณความเป็นครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งรวบรวมข้อมูลกับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จำนวน 700 คน ที่กำลังฝึกสอนในโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ แบบวัดการรับรู้ความสามารถด้านการสอนของตนเอง และแบบวัดจรรยาบรรณความเป็นครู สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาและสหสัมพันธ์สัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า การเข้าร่วมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ การรับรู้ความสามารถด้านการสอน และจรรยาบรรณความเป็นครูมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูง
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่งไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ก่อนเท่านั้น
References
ชัยวุฒิ บรรณวัฒน์. (2552). ครู" มืออาชีพ...อาชีพ "ครู" คนละเรื่องเดียวกัน” http://www.moe.go.th /moe/th/news/detail.php?NewsID=8152&Key=hotnews
Prawit Erawan. (2016). A Comparison of Teaching Efficacy, Commitment to Teaching Profession and Satisfaction with Program Effectiveness of Teacher Students Under the 5 Year-Program Curriculum and Those Under the 4+1 Year-Program Curriculum. European Journal of Social Sciences – Volume 14, Number 2 (2010).
เรวณี ชัยเชารัตน์. (2560). สมรรถนะด้านการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาครูที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 45(4) (ตุลาคม-ธันวาคม 2560), 142-163.
เรวณี ชัยเชารัตน์. (2560). สมรรถนะด้านการออกแบบการเรียนการสอนของนักศึกษาครูที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(4) (ตุลาคม-ธันวาคม 2561), 318-338.
วรลักษณ์ ชูกำเนิด และเอกรินทร์ สังข์ทอง. (2557). โรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู เพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นผู้เรียนเป็นหัวใจสำคัญ. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 25(1), มกราคม-เมษายน.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี – สฤษดิ์วงศ์.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส). (2546). นักสร้างเสริมสุขภาพต้องทำงานนอกกรอบของวงการสาธารณสุขแบบเดิม. (สืบค้น 8 เมษายน 2559) จาก http//www.thaihealth.or.th
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย. (2557). รายงานฉบับสมบูรณ์ การจัดทำยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เกิดความรับผิดชอบ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สกศ. (2558). รายงานผลการศึกษา: สถานภาพการผลิตและพัฒนาครูในประเทศไทย http://backoffice. onec.go.th/uploads/Book/1442-file.pdf)
Bandura, A. (1997). Self-Efficacy: The Exercise of Control. New York: W. H. Freeman.
Battersby, S. (2015). The Culture of Professional Learning Communities and Connections to Improve Teacher Efficacy and Support Student Learning. Arts education policy review, 116, 22–29.
DuFour, R. (2004). What is a “professional learning community” ? Educational Leadership. 61(8), 6–11.
Gavora, P. (2010). Slovak Pre-Service Teacher Self-Efficacy: Theoretical and Research Considerations. The New Educational Review, 21(2), 17-30.
Hord, S. M. (1997). Professional learning communities: What are they and why are they important? Southwest Educational Development Laboratory, 6(2), 1–8.
Hord, S. M. (2009). Professional learning communities: Educators work together toward a shared purpose improved student learning. National staff development council, 30(1), 40-43.
Kalkan, F. (2015). Relationship between Professional Learning Community, Bureaucratic Structure and Organizational Trust in Primary Education Schools. Educational Sciences: Theory & Practice. October, 16(5), 1619–1637.
Kitsantas, A. (2012). Teacher efficacy scale for classroom diversity (tescd): a validation study. Profesorado. 16(1).
Karma S. (2018). Importance of Professional Ethics for teachers. International Education & Research Journal [IERJ], 4(3), 16-18.
Maria Poulou, (2003). Influential Factors on Teaching Efficacy: Prospective Teachers’ Beliefs. Paper presented at the British Educational Research Association Annual Conference, Heriot-Watt University, Edinburgh, 11-13 September.
Sjoer, E and Meirink, J. (2016). Understanding the complexity of teacher interaction in a teacher professional learning community. European Journal of Teacher Education, 39(1), 110–125.
Tschannen-Moran, M., Hoy, A. and Hoy, W. K. (1998). Teacher Efficacy: Its Meaning and Measure. Review of Educational Research, 68, 202-248.