เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษา เรื่องคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1
คำสำคัญ:
นวัตกรรมการศึกษา, การใช้เทคโนโลยี, การจัดการเรียนรู้, คุณธรรมและจริยธรรมบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 2) เพื่อหาแนวทางส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษา เรื่องคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ การวิจัยมุ่งศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาวสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลยเขต1จำนวน50คนได้มาโดยกลุ่ตัวอย่าง คือ ผู้บริหาร ครูผู้สอนสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในโรงเรียนบ้านสงาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจำนวน 44 คน โดยมีวิธีดำเนินการวิจัย สภาพและปัญหาการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาเรื่อง คุณธรรมและจริยธรรม 3 ด้าน ได้แก่ ด้านครูผู้สอน ด้านสื่อการเรียนรู้และด้านการวัดและประเมินผลโดยมีวิธีการดังนี้1)การวิจัยมุ่งศึกษาแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับครูโรงเรียนบ้านสงาวสังกัดสำนักงานเขตพื้นทีการศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 2) ขอบเขตด้านกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญในการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) กำหนดผู้เข้าร่วม สนทนากลุ่ม จำนวน 10 คน ประกอบด้วย ตัวแทนหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม จำนวน 2 คน ตัวแทนผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา จำนวน 3 คน และตัวแทนครูผู้สอนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมจำนวน 5 คน โดยมีการ กำหนดเกณฑ์คุณลักษณะในการคัดเลือกผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่ม โดยมีตัวแทน 1. หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ไม่น้อยกว่า 1 ปีมีประสบการณ์การจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในสาระศาสนาคุณธรรมและจริยธรรมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 2. ตัวแทนผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา เป็นผู้ที่มีตำแหน่งทางวิชาการผู้อำนวยการสถานศึกษา เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในด้านศาสนา 3. ตัวแทนครูผู้สอนสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมเป็นครูผู้สอนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในโรงเรียนบ้านสงาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 เป็นผู้มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ทางการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในสาระศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมกำหนดประเด็นการสนทนากลุ่มคือ แนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับครูโรงเรียนบ้านสงาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 การเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1) พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานภาพเป็นเพศชาย ร้อยละ 54.54 และเป็นเพศหญิง ร้อยละ 45.45 2) พบว่า สภาพการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาในเรื่อง คุณธรรมและ จริยธรรม ของครูโรงเรียน บ้านสงาว สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก ( X = 4.02) เมื่อพิจารณารายด้านจากมากไปหาน้อยเรียงลำดับดังนี้ ด้านสื่อการเรียนรู้ ด้านครูผู้สอน และลำดับสุดท้ายคือ ด้านการวัดและประเมินผล 3) พบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อครูผู้สอน ในการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษา เรื่องคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 96.36 ระดับคุณภาพดีมาก 4) พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้สื่อเทคโนโลยีของครู โดยใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนบ้านสงาวสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยร้อยละ98.02 ระดับคุณภาพดีมาก 5) พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการวัดและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาวสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1 ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยร้อยละ 94.10 ระดับคุณภาพดีมาก
Downloads
References
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบโมไบล์เลิร์นนิง เรื่อง แหล่โบราณสถานบริเวณเมืองเก่าจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสตรีวิทยาโดยใช้โปรแกรมโลกเสมือนจริง (Metaverse). วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา, 15(1), 119-133.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษากิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกและเกมการศึกษารายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดนครปฐม. วารสารพุทธนวัตกรรมปริทรรศน์, 4(2), 1-12.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). นวัตกรรมการศึกษาและเทคโนโลยีการจัดการเรียนรู้ของครูในกลุ่มสาระสังคมศึกษาเรื่องคุณธรรมและจริยธรรม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านสงาว สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 1. วารสารการบริหารการศึกษา มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด, 3(1), 70-77.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาแพลตฟอร์มการเรียนการสอนสื่อดิจิทัลด้วยการสอนบน Padlet วิชาภาษาไทยเพื่อสะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นไทย ชั้นประถมกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดบางบอน (พิมพ์ จันแต้อุปถัมภ์. วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 35(2), 102-120.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในยุคไทยแลนด์ 4.0 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับทัศนศิลป์ วิชาศิลปะพื้นฐาน. วารสารครุทรรศน์, 3(1). 43-53.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การบริหารงานระบบไอซีทีเพื่อพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนรายวิชาภาษาไทย เรื่อง นิราศภูเขาทอง ผ่านบทเรียนออนไลน์ Mobile Learning ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดตะพงนอก จังหวัดระยอง. วารสารครุศาสตร์ปัญญพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 1(1), 1-16
เอกนรินทร์ คงชุม,ธนาดล สมบูรณ์,วีระ วงศ์สรรค์,ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2566). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแกะสลักผักและผลไม้ลายกุหลาบ โดยใช้สื่อวีดิทัศน์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลมะนัง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล เขต 1. วารสารวิจยวิชาการ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยวิทยาเขตนครสวรรค์, 6(1), 79-90.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) โดยใช้สื่อวิดีโอ(VDO) ผ่านแอปพลิเคชั่นสําหรับเรียนรู้ผ่านวีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์. วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 30(2), 25-38.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาสื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองขวางจังหวัดตราด. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 5(2), 26-38.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 14(2), 28-42.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาบทเรียน M–Learning ร่วมกับรูปแบบการสร้างความรู้ด้วยตนเอง เรื่อง สถานที่สำคัญและแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่น จังหวัดสมุทรสาคร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดบางปลา. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ, 5(3), 28-40.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรง โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต, 1(1), 47-58.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการใช้สื่อเครือข่ายสังคมออนไลน์ "ตู้เทคโนโลยีดิจิทัลอัจฉริยะ" เรื่อง การปฏิบัติตนตามบรรทัดฐานและวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดพระขาว (ประชานุเคราะห์). วารสาร มจร ปรัชญาปริทรรศน์, 5(2), 22-32.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์,อภิสิทธิ์ ทุริยานนท์}อรอนงค์ โพธิจักร,อพิเชษฐกิจเกษม เหมิและปวีณา จันทร์ไทย. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E -Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 14(2). 28-42
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์,สุริยะ วชิรวงศ์ไพศาลและพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. (2564) . การพัฒนาแพลตฟอร์มดิจิทัลรายวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานสำหรับผู้เรียนระดับปริญญาตรีคณะบริหารธุรกิจ. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 4(2). 427-442. 71.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาบทเรียนผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องการทําเครื่องปั้นดินเผาของชาวมอญเกาะเกร็ด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรีของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1). 1-16.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การบริหารงานวิชาการบทเรียนสําเร็จรูปของชั้นประถมศึกษาโรงเรียนบ้านหนองลุมพุก จังหวัดชัยภูมิ. วารสารครุทรรศน์ (Journal of UBRU Educational Review (Online). 2(3). 41-52.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชาภาษาไทย เรื่อง หลักการใช้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดแจ้งลำหิน (พูนราษฎร์อุปถัมภ์) อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา [ssrugraduate]. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 15(2). 49-63.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนานวัตกรรมสื่อการเรียนรู้เรื่องโคกหนองนาโมเดล ตำบลจันดุม อำเภอพลับพลาชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ในกลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดสำโรง โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์. วารสารนวัตกรรมการศึกษาในอนาคต. 1(1). 47-58.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจิ่นเต๊อะแก่งคอย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 14(2). 28-42.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาสื่อการเรียนรู้ เรื่องระบบสุริยะ บนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ด้วยเทคโนโลยีความจริงเสริม นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนคลองขวางจังหวัดตราด. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. 5(2). 26-38.
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์. (2565). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) โดยใช้สื่อวิดีโอ(VDO) ผ่านแอปพลิเคชั่นสําหรับเรียนรู้ผ่านวีดีทัศน์แบบมีปฏิสัมพันธ์. วารสารวิจัยศิลปวิทยาการลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 30(2). 25-38.
บุญชม ศรีสะอาด และคณะ. (2558). พื้นฐานการวิจัยการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กาฬสินธุ์: ตักสิลาการพิมพ์.
Yamane Taro. (1973). Statistic: An introductory and lysis. (2nd/ed). New York: Harpar and row.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ชัยภูมิ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความลิขสิทธิ์