การประเมินการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินผลการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์ 2) เปรียบเทียบความคาดหวังและความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์ และ 3) นำเสนอแนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาปัจจุบันที่กำลังศึกษาอยู่ทุกหลักสูตรในภาควิชาสังคมศาสตร์ ทั้งระดับปริญญาตรี-โท-เอกรวมทั้งหมด 268 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม พบว่าความคาดหวังของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และผลการเปรียบเทียบความคาดหวังและความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์ พบว่าความคาดหวังและความพึงพอใจในภาพรวมและในทุกๆด้าน ของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการสอนของภาควิชาสังคมศาสตร์มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 (Sig=.000) และควรประชาสัมพันธ์ความรู้ ข้อมูลต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และพัฒนาแนวทางการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และแนวทางขั้นตอนการขอรับบริการ
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. (2559).รายงานการประเมินตนเอง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ประจำปี 2559. นครปฐม: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ธงชัย สันติวงษ์. (2530). องค์การและการบริหาร: การศึกษาการจัดการแผนใหม่ (organization and management). พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิชย์.
ปิยะรัตน์ เจิมประไพ, ปิยาภรณ์ เตชะเรืองรอง และนันทนา ชาครานุวัฒนพงศ์. (2551). ความคาดหวังและความพึงพอใจต่อการมาศึกษาที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต ศูนย์ หัวหิน. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
ปุณยภาพัชร อาจหาญ. (2555). ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อการให้บริการของธนาคารทหารไทย จำกัด (มหาชน) สาขาจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ภาณุเดช เพียรความสุข และคณะ. (2558). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.apr.ubru.ac.th/images/stories/documents/publication/005/2558.pdf
มหาวิทยาลัยมหิดล. (2559). คำขวัญ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจของมหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 7 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.mahidol.ac.th/th/vision.htm.
รมิดา คงเขตวณิช. (2557). การศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาการบัญชีการเงินของมหาวิทยาลัยศรีปทุม.บทความวิจัย คณะการบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.spu.ac.th/ account/files/2014/01/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%AD.%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%B2.pdf
รัชตา ธรรมเจริญ , วิทวัส ดิษยะศริน สัตยารักษ์ และเจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์. (2557).ความคาดหวังต่อการจัดการเรียนการสอนการวางแผนเชิงกลยุทธ์และการจัดการของนักศึกษามหาวิทยาลัยหาดใหญ่.การประชุมหาดใหญ่วิชาการ ระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 5 วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
วรรษมณฑน์ มีศรี. (2549). ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ของครูในช่วงชั้นที่ 3 และช่วงชั้นที่ 4 ตามการประเมินของนักเรียนโรงเรียนศรีราชา จังหวัดชลบุรี.ปัญหาพิเศษ หลักสูตร รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์. (2544). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกโรงเรียนกวดวิชาของ
นักเรียนมัธยมปลายในอำเภอเมือง เชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศศิวิมล มีอําพล และ ภาคภูมิ วณิชธนานนท์. (2555). ระดับความคาดหวังและความพึงพอใจของมหาบัณฑิตที่มีต่อหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาโททางการบัญชี. การประชุมวิชาการครั้งที่ 50 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่างวันที่ 31 มกราคม – วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2555, สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.lib.ku.ac.th/KUCONF/2555/ KC4915004.pdf
สมชาย บุญสุ่น. (2554). ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สมชาย รัตนทองคำ. (2554).การวัดและประเมินผลทางการศึกษา. เอกสารประกอบการสอน 475 788 การสอนทางกายภาพบําบัด ภาคตน ปการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยขอนแก่น, สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560, จาก https://ams.kku.ac.th/aalearn/resource/edoc/tech/ 54/13eva.pdf
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2520). หลักการประเมิน: คู่มืออาจารย์ด้านการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
__________. (2549).การเขียนโครงการเพื่อประเมินโครงการ:หลักการและตัวอย่าง. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการประเมินโครงการทางการศึกษา.กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สัจจา โสภา. (2556). ความคาดหวังและความพึงพอใจนักเรียนต่อการบริการที่ศูนย์เตรียมความพร้อมภาษาอังกฤษและคณิตศาสตร์. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรปริญญาศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สุบิน ยุระรัฐ. (2554). การประเมินการจัดการเรียนการสอนวิชา ED 712 สถิติขั้นสูงสำหรับการวิจัยทางการบริหารการศึกษา. รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม. สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2560, จาก https://www.spu.ac.th/tlc/files/2013/10/ 54.04.pdf.
อรรถพร คําคม. (2546). การให้บริการสินเชื่อของธนาคารอาคารสงเคราะห์: ศึกษาจากความคิดเห็นของผู้ใช้บริการฝ่ายกิจการสาขากรุงเทพและปริมณฑล.วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต พัฒนาสังคม.กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
อัญชลี วิรุฬห์จรรยา. (2553). การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้สอดรับกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ: กรณีศึกษานักศึกษาคณะบัญชี ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. บทความวิจัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2560, จาก http://www.bu.ac.th/knowledgecenter/epaper/ special_may2010/pdf/Page_17.pdf
อ้อทิพย์ ราษฎร์นิยม และประพาฬ เฟื่องฟูสกุล. (2552). การประเมินผลการเรียนในหลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต และเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2552. สำนักวิชาเศรษฐศาสตร์และนโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2560, จาก http://ir.swu.ac.th/xmlui/bitstream/handle/ 123456789/ 600/Orthip_R_R411195.pdf?sequence=1.
Getzels, J.W. and et al. (1964). Educational Administration as a Social Process. New York : Harper and Row.
Good, C. V. (1973). Dictionary of Education. (3rd ed.). New York: McGraw - Hill.
Quirk, R. (1987). Longman dictionary of contemporary English. (2nd ed.). London, England: Richard Clay.
Murray, H. A. (1968). Exploration in Personality. New York : Science Edition, Inc.
Parasuraman, A., Berry, L. L. & Zeithaml, V. A., (1991). Refinement and reassessment of the SERVQUAL scale. Journal of Retailing, 67(4), 420-450.
Reeder, W. W. (1971). Partial Theory from the 25 Years Research Program on Directive Factor is Believes and Social Action. New York : Minigraph.