การประเมินสมรรถนะหลักของบุคลากรภาครัฐที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร

Main Article Content

วุฒิชัย อารักษ์โพชฌงค์
โญธิกา ผลาเลิศ
พรทิพย์ คำฟัก
พัชรพร นิลน้อยศรี
พีรวิชญ์ สุนทรนันท์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินระดับสมรรถนะหลักของบุคลากรภาครัฐที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร และ 2) เพื่อศึกษาความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อระดับสมรรถนะหลักของบุคลากรภาครัฐที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคคลที่ปฏิบัติงานอยู่ในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร จำนวนทั้งหมด 201 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ในการวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพสมรส สำนัก/กอง/หน่วยงาน ประเภทของสถานภาพการทำงาน ตำแหน่งประเภท อายุราชการ (ปี) กับสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ 1.ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. ด้านการบริการที่ดี              3. ด้านการสั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ 4. ด้านการยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม และ 5. ด้านการทำงานเป็นทีม


ผลการศึกษา พบว่า ข้อมูลการประเมินสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร ทั้ง 5 ด้าน มีระดับสมรรถนะการปฏิบัติงานอยู่ในระดับดี จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ, วุฒิการศึกษา, สำนัก/กอง/หน่วยงานที่สังกัด, ประเภทของสถานภาพการทำงาน และตำแหน่งประเภทที่แตกต่างกันส่งผลต่อสมรรถนะหลักในการปฏิบัติงานของบุคลากรภาครัฐที่สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาครที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.00 - 0.05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ขจรศักดิ์ ศิริมัย. (2554). เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับสมรรถนะ. เข้าถึงเมื่อ 30 กันยายน 2560. เข้าถึงได้จาก
http://competency.rmutp.ac.th
จำนงค์ สายวงค์ปัญญา. (2551). แนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะของข้าราชการสำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่
12 นครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
จิตรา ปราชญ์นิวัฒน์. (2550). สมรรถนะของสาธารณสุขอำเภอในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชญานิษฐ์ แสงทิพย์. (2557). สมรรถนะในการปฏิบัติงานของบุคลากรกรมพัฒนาฝีมือแรงงานในกลุ่มจังหวัด
ร้อยเอ็ด-ขอนแก่น-มหาสารคาม-กาฬสินธุ์, วารสาร มหาวิทยาลัยราชรัฏมหาสารคาม, ปีที่ 8, ฉบับที่ 1
: 176-179.
ชุมสาย บวรศักดิ์เสถียร และดิเรก พรสีมา. (2556). รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรทางการศึกษา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, ปีที่ 3, ฉบับที่ 2 (ประจำเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2556): 54-56.
ณรงค์ โพธิ์พฤกษานันท์, (2551). ระเบียบวิธีวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : เอ็กซเปอร์เน็ท
ณรงค์วิทย์ แสงทอง. (2550). มารู้จัก Competency กันเถอะ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:
บริษัท เอช อาร์ เซ็นเตอร์ จำกัด
ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2541). บุคลากรภาครัฐ. เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2560. เข้าถึงได้จาก
http://dictionary.sanook.com

ทิวา ปฏิญาณสัจ. (2553). ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานในทัศนะของพนักงานบิ๊กซี ซูเปอร์
เซ็นเตอร์ สาขาสำโรง. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาบริหารธุรกิจ : มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
ธาริณี อภัยโรจน์. (2554). การศึกษาสมรรถนะหลักเพื่อการพัฒนาบุคลากร : กรณีศึกษา สำนักงานอธิการบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา, วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยมหิดล, ปีที่ 22, ฉบับที่ 1 (เดือนมกราคม-เมษายน 2554): 64-70.
บุญชุม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ : สุวีริ ยาสาส์น
ปัทมาวรรณ จินดารักษ์. (2560). การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรสายวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา, วารสาร
บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปีที่ 11, ฉบับที่ 1 (เดือนมกราคม-เมษายน 2560): 230-231.
ภิญญดา ชูก้อนทอง. (2557). การพัฒนาสมรรถนะหลักของพนักงานส่วนตำบลเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน
การบริการสาธารณะขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดเพชรบุรี, วารสารวิชาการ ฉบับมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ปีที่ 7, ฉบับที่ 1 (เดือนมกราคม-เมษายน 2557): 402-405.
วันเพ็ญ นิลนารถ. (2553). สมรรถนะหลัก ประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน และสหสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะ
หลักกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน. สารนิพนธ์
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. ศิลปศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเกริก.
ศิริชัย พงษ์วิชัย. (2551). การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศิริรัตน์ พิริยธนาลัย และจุฑา เทพหัสดิน ณ อยุธยา, (2553). Competency สมรรถนะ เข้าใจ ใช้เป็น
เห็นผล. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : เอ.พี.พริ้นติ้ง กรุ๊ป
สนั่น สันหลี. (2555). สมรรถนะตามตําแหน่งงานกับประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่คดีพิเศษ
และพนักงานสอบสวนคดีพิเศษ กรมสอบสวนคดีพิเศษ. สารนิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.
ศิลปศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเกริก.
สมนึก ลิ้มอารีย์. (2552). การศึกษาสมรรถนะหลักของบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติงานใน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 3. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.
สมยศ แย้มเผื่อน. (2551). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการทํางํานของพนักงาน ปฏิบัติการ
บริษัท เอเชีย มารีน เซอร์วิส จํากัด (มหาชน). สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการ)
บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สรวิช สรมณาพงศ์. (2558). การศึกษาอิทธิพลของกรอบมาตรฐานการพัฒนาสมรรถนะที่มีผลต่อความสำเร็จ
ในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษาผู้บริหารองค์กรภาครัฐและเอกชน. การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ, (2549). แนวทางการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ด้วย Competency. พิมพ์ครั้งที่ 3.
กรุงเทพฯ : ศิริวัฒนา อินเตอร์พริ้นท์
สำนักงาน ก.พ. (2553). คู่มือสมรรถนะราชการพลเรือนไทย (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). เข้าถึงเมื่อ
30 กันยายน 2560. เข้าถึงได้จาก http://www.ocsc.go.th
สำนักงาน ก.พ. (2553). คู่มือการกำหนดสมรรถนะในราชการพลเรือน คู่มือสมรรถนะหลัก.
เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2560. เข้าถึงได้จาก http://www.ocsc.go.th
สำนักงาน ก.พ.ร. (2555). การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management). เข้าถึงเมื่อ 29 ตุลาคม 2560.
เข้าถึงได้จาก http://www.opdc.go.th
แสงทอง แป้นประโคน. (2558). สมรรถนะการปฏิบัติงานของนายช่างโยธาองค์การบริหารส่วนตำบลในเขต
จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. รัฐประศาสนศาสตร์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร. (2540). โครงสร้างการบริหาร. เข้าถึงเมื่อวันที่
7 พฤษภาคม 2560. เข้าถึงได้จาก http://www.samutsakhonpao.go.th
องค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร. ประวัติความเป็นมาขององค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร.
เข้าถึงเมื่อ 29 ตุลาคม 2560. เข้าถึงได้จาก http://www.samutsakhonpao.go.th
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2553). Competency-based training road map (TRM). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :
เอช อาร์ เซ็นเตอร์
Boyatzis, R.E. (1982). The Competent Manager: A model of Effective Performance. New York: John
Wiley and Sons Inc.
Hamel, G. and Prahalad, C.K. (1994). Competing for The Future. Boston, MA: Harvard University Press.
McClelland, David C. (1973). “Testing for Competence rather than Intelligence.” American
Psychologist. Retrieved December 11, 2005, from www.ei. Haygroup.com
Yamane, Taro. (1973). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper and Row.