ถึงเวลาแล้วหรือไม่? สำหรับการจัดเก็บภาษีคาร์บอนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
ปัญหาโลกร้อนเป็นปัญหาระดับนานาชาติและประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งที่มีแนวโน้มการปล่อยปริมาณคาร์บอนเพิ่มขึ้นในอนาคต ดังนั้นประเทศไทยจึงควรมีการจัดเก็บภาษีคาร์บอน อันเนื่องมาจากสาเหตุดังนี้ คือ 1) นโยบายรถคันแรกที่ทำให้ปริมาณรถยนต์เพิ่มขึ้นและส่งผลต่อการบริโภคเชื้อเพลิงฟอสซิลเพิ่มขึ้น 2) ทำให้เกิดความเป็นธรรมต่อผู้ที่ใช้รถอีโคคาร์ 3) ผลกระทบภายนอกเชิงลบจากผู้ที่ใช้รถยนต์เกิน 10 ปี 4) แนวโน้มการใช้พลังงานไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเหตุผลดังกล่าวเป็นปัจจัยที่แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยควรจะมีมาตรการการจัดเก็บภาษีคาร์บอน เพื่อเป็นการลดผลกระทบของการปล่อยปริมาณคาร์บอนที่จะเกิดขึ้นในอนาคต วิธีการเก็บภาษีคาร์บอน คือ 1) การจัดเก็บจากฐานที่มาของประเภทของเชื้อเพลิง 2) การจัดเก็บจากฐานภาษีที่มาจากการใช้ไฟฟ้า 3) การจัดเก็บจากฐานปริมาณการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้น การจัดเก็บภาษีคาร์บอนจึงควรเริ่มที่จะจัดเก็บในประเทศไทยให้สอดคล้องกับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
Article Details
- วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ มหาวิทยาลัยมหิดล อนุญาตให้สามารถนำไฟล์บทความไปใช้ประโยชน์และเผยแพร่ต่อได้ โดยอยู่ภายใต้เงื่อนไขสัญญาอนุญาต CC Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) โดยต้องแสดงที่มา/การอ้างอิงจากวารสาร – ไม่ใช้เพื่อการค้า – ห้ามแก้ไขดัดแปลงเนื้อหา
- ข้อความที่ปรากฏในบทความในวารสารฯ เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ (ซึ่งหมายรวมถึง บรรณาธิการ ผู้ทรงคุณวุฒิในกองบรรณาธิการ หรือ บรรณาธิการรับเชิญ) แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเอง ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้เขียน ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการวารสารฯ
- กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตัดทอน/ปรับแก้ถ้อยคำบางประการเพื่อความเหมาะสม
References
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา. (2556). เก็บภาษีคาร์บอน:เครื่องมือลดโลกร้อน. กรุงเทพฯ: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา.
อนันต์ วัฒนกุลจรัส, & กฤติยาพร วงษา. (2554). การใช้ภาษีคาร์บอนในการควบคุมการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้างสุขภาพ.
Hillman, J. (2013). CHANGING CLIMATE FOR CARBON TAXES Who’s Afraid of the WTO? USA: American Action Forum.
Hyman, D. N. (2011). Public Finance: A Contemporary Application of Theory to Policy (10 ed.). Ohio: South-Western Cengage Learning.
Krugman, P., & Wells, R. (2009). Economics (2 ed.). New York,: Worth Publishers.
Pearson, M., & Smith, S. (1993). The European Carbon Tax:An Assessment of The European Commission's Proposals. London: The Institute for Fiscal Studies.
Sumner, J., Bird, L., & Smith, H. (2009). Carbon Taxes: A Review of Experience and Policy Design Considerations. Colorado: National Renewable Energy Laboratory
The European Climate Foundation. (2012). Carbon taxation and fiscal consolidation. London: The European Climate Foundation.
Ulbrich, H. H. (2011). Public Finance in Theory and Practice (2 Ed.). New York: Routledge.