ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยว จังหวัดภูเก็ต

Main Article Content

ราตรีญา ธีรภัทร์ตระกูล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมและศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวยังจังหวัดภูเก็ต กลุ่มตัวอย่าง คือ นักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ที่เดินทางมาท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดภูเก็ต จำนวน 424 คน โดยสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวยังจังหวัดภูเก็ต โดยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ


ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยในจังหวัดภูเก็ต ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การบอกต่อ รองลงมา คือ การมาเที่ยวซ้ำ ระยะเวลาที่มาเที่ยว การรับทราบข้อมูลด้านการท่องเที่ยว และแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องการไป ตามลำดับ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวยังจังหวัดภูเก็ต คือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัยและปลอดภัยจากโรคระบาด  การส่งเสริมการตลาด กระบวนการในการให้บริการ ราคา ผลิตภัณฑ์ และช่องทางการจัดจำหน่าย ได้ระดับการมีอิทธิพลร้อยละ 54.6 (R2= .546) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุด คือ สภาพแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัยและปลอดภัยจากโรคระบาด (X7) (Beta=.282) การส่งเสริมการตลาด (X4) (Beta=.175) กระบวนการในการให้บริการ (X6) (Beta=.119) ราคา (X2) (Beta=.111) ผลิตภัณฑ์ (X1) (Beta=.109) และช่องทางการจัดจำหน่าย (X3) (Beta=.095) ตามลำดับ


ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยในจังหวัดภูเก็ต ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การบอกต่อ รองลงมา คือ การมาเที่ยวซ้ำ ระยะเวลาที่มาเที่ยว การรับทราบข้อมูลด้านการท่องเที่ยว และแหล่งท่องเที่ยวที่ต้องการไป ตามลำดับ


ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวยังจังหวัดภูเก็ต คือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัยและปลอดภัยจากโรคระบาด  การส่งเสริมการตลาด กระบวนการในการให้บริการ ราคา ผลิตภัณฑ์ และช่องทางการจัดจำหน่าย ได้ระดับการมีอิทธิพลร้อยละ 54.6 (R2= .546) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปัจจัยที่ส่งผลมากที่สุด คือ สภาพแวดล้อมที่ถูกสุขอนามัยและปลอดภัยจากโรคระบาด (X7) (Beta=.282) การส่งเสริมการตลาด (X4) (Beta=.175) กระบวนการในการให้บริการ (X6) (Beta=.119) ราคา (X2) (Beta=.111) ผลิตภัณฑ์ (X1) (Beta=.109) และช่องทางการจัดจำหน่าย (X3) (Beta=.095) ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research paper)

References

Cathy, H.C., et al. (2007). A model of senior tourism motivation Anecdotes from Beijing and Shanghai. Tourism Management Journal, 28(1).

Chetupong, P., et al. (2018). Creating the Health Tourism Business’ Competitive Advantages in Thailand. Journal for Research and Innovation Institute of Vocational Education Bangkok, 1(2), 90-97. (in Thai)

Foundation of Thai Gerontology Research and Development institute. (2021). The situation of the elderly in Thailand. Retrieved November 16, 2021, from http://thaitgri.org/?p=39457. (in Thai)

Hagen, A., & Uysal, M. (1991). An examination of motivations and activities of retirement and the travel and tourism. In Research association conference, long beach. California.

Kanna, P. & Khlangrahad, C. (2017). Travel behavior of elderly people in Huahin District Prachuap Khiri Khan Province. The 9th Rajamangala University of Technology National Conference (p.1399). Rajamangala University of Technology. http://repository.rmutr.ac.th/handle/123456789/779?show=full (in Thai)

Khongharn, R. (2017). The marketing mix Affecting the perception of the Senior Foreigners in Tourism Service Quality: Andaman Area. Dusit Thani College Journal, 11(Special Issue), 18. (in thai)

Ministry of Public Health. (2020). The implementation of preventive measures in the fourth stage relaxes public health practice Thai traditional massage spa or health center. Retrieved January 9, 2022, from https://covid19.anamai.mop

h.go.th/th/establishments/. (in Thai)

Naksanee, T. (2018). The Behavior Expectations and Factors affecting the tourism of Thai Senior tourists who went no Health tourism in the western region. The 3rd Academic National Conference. Thepsatri Rajabhat University. http://rms.mcru.ac.th/uploads/549753.pdf. (in Thai)

Nantasiriphol, S. (2017). Service Using Behavior and Perception of Service Provision in Cultural Destination. International Thai Tourism Journal, 13(1), 1-33. (in Thai)

Phueakbuakhao, S. & Phueakbuakhao, W. (2021). Guidelines for the Development of Health Tourism for the Elderly in Muang District, Phachuap Khiri Khan Province. Academic Journal of Phetchaburi Rajabhat University, 11(2), 4. (in Thai)

Phuket Province Governor’s Office. (2016). Briefing Information about Phuket Province. Retrieved November 16, 2021, from https://www.phuket.go.th. (in Thai)

Ruyss, H. & Wei, S. (2001). Senior Tourism. In N. Douglas, N. Douglas and R. Derrett. Special Interest Tourism. Brisbane: Wiley.

Shoemaker, S. (1989). Segmentation of the senior pleasure travel market. Journal of Travel Research, 27(3).

Silpcharu, T. (2012). Research and statistical analysis with SPSS and AMOS. Bangkok: S.R. Printing Massproduct Co., Ltd. (in Thai)

Sriampornekkul, L. & Chuntuk, T. (2018). Quality Tourism for Senior Tourists. Journal of Humanities and Social Sciences, Rajapruk University, 4(1), 12-28. (in Thai)

Srikhiew, N. (2013). Factors Influence the Satisfaction and Re-buying behavior of Thai tourist: A case study of the health promotion tourism. MA Thesis, Naresuan University. (in Thai)

Suwannasing, S. (2018). The Satisfaction of foreign tourists in using health tourism services. Retrieved November 29, 2021, from http://dspace.bu.ac.th/bitstream/123456789/4367/1/

Sudawan_suwa.pdf. (in Thai)

Tangtenglam, S. & Pongpanich, A. (2021). Factors Affecting the Selection of New normal Thai Travel. Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences, 4(1), 12. (in Thai)

Thansettakij. (2019, October 13). The income of the top 10 provinces from Thai tourists. Thansettakij Online. https://www. thansettakij.com/business/411965. (in Thai)

Waithayangkun, C. (2020, April 22). The elderly are increasing, the birth rate is low, the economy is in a quagmire. Bangkokbiz news Online. from https://www.bangkokbiznews.com/news/

(in Thai)

Weerakit, N., et al. (2019). The Development Guidelines of Medical Tourism to Upgrade Phuket to be an International Medical Hub. International Thai Tourism Journal, 15(2), 35-36. (in Thai)

Wongbuangam, B., et al. (2020). Maketing Mix Factors Influencing Volunteer Tourism of Thai Senior Tourists. Retrieved January 5, 2022, from file:///C:/Users/this%20PC/Downloads/

Downloads/truhusoc,+%7B$userGroup%7D,+05+ใบเฟิร์น.pdf. (in Thai)

Yongphan, P. (2018). The Marketing Mix Affective Decision Making in visiting Phayam Island, Ranong Province. Retrieved January 5, 2022, from https://www.ba-abstract.ru.ac.th/Abst

ractPdf/2561-5-8_1565079020pdf. (in Thai)

Yonwikai, W. (2019). Business Development Guidelines to Support Tourism Behavior of Elders Travelling in Thailand. Dusit Thani College Journal, 13(2), 428-438. (in Thai)