แรงงานต่างด้าวกับการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

Main Article Content

อภิวรรณ ศิรินันทนา

บทคัดย่อ

ประเทศไทยได้ประสบปัญหาเกี่ยวกับคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย ซึ่งเป็นปัญหาต่อทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ และความมั่นคงของรัฐ และย่อมส่งผลกระทบต่อประชาชน คนต่างด้าวที่เข้าเมืองมาโดยผิดกฎหมายจะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากส่วนใหญ่คนต่างด้าวจะเข้ามาเพื่อทำงานในประเทศ ซึ่งเป็นการแย่งงานประชากรในพื้นที่นั้นๆ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสิทธิของคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมายยังไม่ชัดเจน เนื่องจากหากมิใช่บุคคลที่กฎหมายรองรับสถานภาพแล้ว สิทธิบางประการที่กฎหมายรองรับไว้ บุคคลดังกล่าวอาจไม่ได้รับสิทธิ์นั้น ทำให้มีการถูกละเมิดสิทธิ จึงควรที่จะมีการพัฒนาระบบกฎหมายและการดูแลคนเข้าเมือง ทั้งๆ ที่การเข้าเมืองมานั้นจะไม่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยระบบกฎหมายและการดูแลจะต้องนำหลักสิทธิมนุษยชนมาใช้กับบุคคลทุกคนอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กันติพิชญ์ ใจบุญ. (2560, พฤษภาคม 1). วัดน้ำหนัก พรก.แรงงานต่างด้าว ‘คนดีต้องไม่กลัว’ หรือ ‘รัฐกำลังเดินผิดทาง. [ออนไลน์].

จาก https://www.posttoday.com/analysis/report/501238. [สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2564].

ข่าวไทยพีบีเอส. (2560 พฤษภาคม 11). แรงงานเมียนมาขอความเป็นธรรม หลังน้องภรรยาถูกนายจ้างล่วงละเมิดทางเพศ. [ออนไลน์]. จาก https://news.thaipbs.or.th/content/262376.[สืบค้นข้อมูลเมื่อ วันที่ 7 พ.ค. 2565].

จาตุรนต์‬ ฉายแสง. (2559, กันยายน 30). พ.ร.ก.การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าวฯ. [ออนไลน์].

จาก www.prachatai.com/journal/2017/06/72187. [สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2564].

จรัญ โฆษณานันท์. (2545). สิทธิมนุษยชนไร้พรมแดน : ปรัชญา กฎหมาย และความเป็นจริงทางสังคม.กรุงเทพฯ: นิติธรรม.

เชาวน์ กาญจนะไพบูลย์. (2558). ปัญหาสิทธิมนุษยชนกับคนเข้าเมืองโดยผิดกฎหมาย. วารสารศาลรัฐธรรมนูญ. 17(50), 117-128.

ธนพัฒน พันธ์สุข. (2559). ปัญหาแรงงานต่างด้าวกับการละเมิดสิทธิ. วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา. 5(2), 41-49.

เบญจมาศ วิถี. (2559, มีนาคม 29). นักวิชาการ ชี้พ.ร.ก.ต่างด้าว ส่อละเมิดสิทธิมนุษยชน [ออนไลน์].

จาก www.news.voicetv.co.th/business/504859.html [สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2564].

ประชาไท. (2561, เมษายน 11). เผยแรงงานไม่ผ่านการพิสูจน์สัญชาติกว่า 8 แสน ขณะที่ตัวเลขของรัฐบาล

ที่มีเพียง 1 แสน. [ออนไลน์]. จาก https://prachatai.com/journa. [สืบค้นข้อมูลเมื่อ วันที่ 7 พ.ค. 2565].

ผจงรักษ์ ศรีไชยวงค์. (2557). การคุ้มครองแรงงานต่างด้าวหญิงจากพม่า : กรณีศึกษาลูกจ้างทำงานบ้านในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผู้จัดการออนไลน์. (2552, ตุลาคม 10). การละเมิดสิทธิแรงงาน. [ออนไลน์]. จาก. www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9520000021740 [สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2564].

รัชดา ไชยคุปต์. (2562, กันยายน 19). สื่อสารแรงงานหญิงข้ามชาติ ปัญหาร่วมของอาเซียน. https://www.chula.ac.th/cuinside/25996/. [สืบค้นข้อมูลเมื่อ วันที่ 7 พ.ค. 2565].

วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม (2558). คำอธิบายกฎหมายแรงงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560, สิงหาคม 30). พร้อมรับ พ.ร.ก. แรงงานต่างด้าว ธุรกิจไม่สะดุด. [ออนไลน์]. จาก. https://www.kasikornbank.com/th /business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/foreign-workers-regulation-for-business_Full.pdf.

[สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2565].

สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว. (2560). สถิติจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร ประจำเดือน มีนาคม 2560. กรุงเทพฯ: สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว.

อดิศร เกิดมงคล. (2560, พฤศจิกายน 10). รายงาน : แรงงานต่างด้าวในสังคมไทย: การย้ายถิ่นของผู้ลี้ภัยความผูกพันกับสังคมไทย. [ออนไลน์].

จาก www. prachatai.com/journal/2007/10/14573.[สืบค้นข้อมูลเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2564].

สำนักบริหารแรงงานต่างด้าว กรมการจัดหางาน. (2562). วารสารสถิติจำนวนคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทำงานคงเหลือทั่วราชอาณาจักร พ.ศ. 2562. ฝ่ายสารสนเทศ กลุ่มงานพัฒนาระบบควบคุมการทำงานของคนต่างด้าว.