การจัดกิจกรรมการละเล่นไทยเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย

Main Article Content

ชลิดา สินธุกุม
จุฑาทิพย์ ธรรมสิริวัฒน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลการพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดกิจกรรมการละเล่นไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นเด็กปฐมวัยอายุระหว่าง 4-5 ปี โรงเรียนพัฒนาเด็กศรีจันทร์ สังกัดเทศบาลเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ที่กาลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จานวน 26 คน ซึ่งได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) ผู้ศึกษาได้ค้นคว้าทาการวิจัยในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 ระยะเวลา 8 สัปดาห์ เครื่องมือ ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการละเล่นไทยเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยจานวน 8 แผน และแบบสังเกตทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย
ผลการวิจัยพบว่า
1. กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการจัดกิจกรรมการละเล่นไทยเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัยมีทักษะทางสังคมหลังการจัดกิจกรรมการละเล่นไทยเพิ่มขึ้น

Article Details

How to Cite
สินธุกุม ช., & ธรรมสิริวัฒน์ จ. (2022). การจัดกิจกรรมการละเล่นไทยเพื่อพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กปฐมวัย. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 1(1), 97–105. https://doi.org/10.14456/hsi.2022.8
บท
บทความวิจัย

References

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2554). การเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน 3 - 5 ปี. กรุงเทพฯ: โชติสุขการพิมพ์.

คนึง สายแก้ว. (2555). การศึกษาปฐมวัย. มหาสารคาม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

จิตรา ชนะกุล. (2548). เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการประเมินผลพัฒนาการเด็กปฐมวัย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.

ฉวี บุญทูล. (2557). ผลการส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคมของเด็กปฐมวัยโดยใช้ชุดกิจกรรมการละเล่น

พื้นบ้าน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัญฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ฐิดาภา จันปุ่ม. (2555). การจัดกิจกรรมการเล่านิทานประกอบการแสดงบทบาทสมมติที่มีผลต่อพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย. การศึกษาค้นคว้าอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

_________________.ทักษะพื้นฐานละครสร้างสรรค์. ปริญญานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร.

ทัศนัย อุดมพันธ์. (2541). การศึกษาพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์

ทิศนา แขมมณี. (2551). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). เกมการละเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.

รัชดาภรณ์ อินทะนิน. (2544). การศึกษาแนวโน้มและอัตราการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางสังคมของนักเรียน

ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ที่เข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพมหานคร.

วีณา ประชากูล. (2550). เอกสารประกอบการสอนวิชา ทักษะทางสังคมสำหรับเด็กปฐมวัย.มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.