การสร้างแบบวัดการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการสร้างแบบวัดและการหาคุณภาพ
1.1 ผลการสร้างแบบวัดการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 จำนวน 1 ฉบับ 30 ข้อ มีลักษณะเป็นแบบทดสอบ ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ประกอบด้วย ด้าน การคิดวิเคราะห์ความสำคัญ จำนวน 10 ข้อ ด้านการคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ จำนวน 10 ข้อ และ ด้านการคิดวิเคราะห์หลักการ จำนวน 10 ข้อ
1.2 ผลการหาคุณภาพของแบบวัดการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ตั้งแต่ 0.60 ถึง 1.00 ค่าความยาก มีค่าตั้งแต่ 0.20 ถึง 0.79 ค่าอำนาจ จำแนกรายข้อ มีค่าตั้งแต่ 0.33 ถึง 0.79 การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้าง ด้วยวิธีวิเคราะห์ องค์ประกอบเชิงยืนยัน โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยมีค่าไค-สแควร์ เท่ากับ 710.3 ค่าไค-สแควร์สัมพันธ์ เท่ากับ 1.76 ค่าดัชนีวัดระดับความสอดคล้อง (GFI) เท่ากับ 0.97 ค่าดัชนี วัดระดับความสอดคล้องที่ปรับค่าแล้ว (AGFI) เท่ากับ 0.96 และค่ารากที่สองเฉลี่ยของค่าความแตกต่าง โดยประมาณ (RMSEA) เท่ากับ 0.04 และความเชื่อมั่นของแบบวัดการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์ ทั้งฉบับเท่ากับ 0.90
2. ผลการสร้างเกณฑ์ปกติพบว่ามีเกณฑ์ปกติอยู่ในช่วง T32 ถึง T68 แสดงว่านักเรียนมีความสามารถ ในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์อยู่ในระดับตำถึงระดับสูงมาก ส่วนใหญ่นักเรียนมีการคิดวิเคราะห์ ทางคณิตศาสตร์ ระดับค่อนข้างสูง จำนวน 150 คน คิดเป็นร้อยละ 40.32
The Construction of Analytical Thinking Test on Mathematics for Grade 5 Students
The purposes of this research were: 1) to construct and find quality of Analytical Thinking Test on Mathematics for Prathomsuksa 5 and 2) to construct norm of Analytical Thinking Test on Mathematics for Prathomsuksa 5. The sample group of this study was 372 Prathomsuksa 5 under jurisdiction of Roi-et Prathomsuksa Educational Service Office Area II in the first semester of the academic year 2011, selected by Multi-stage Random Sampling. The research instrument was the Analytical Thinking Test on Mathematic for Prathomsuksa 5 multiple choice 30 items. The quality of the test was searched for its content validity and construct validity by using confirmatory factor analysis. The test was also searched for its difficulty,crimination and reliability before taking the test with the sample group. The norm of the test was constructed from the result of the test score.
The results were as follows :
1. The content and quality of the Analytical Thinking Test.
1.1 The content of the Analytical Thinking Test on Mathematic for Prathomsuksa 5 with multiple choices 30 items consisted of 10 items of core analysis, 10 items of connection analysis and 10 items of principle analysis.
1.2 The quality of the Analytical Thinking Test on Mathematic for Prathomsuksa 5 consisted of the content validity with level of congruence (IOC) between 0.60-1.00, the item difficulty between 0.20 - 0.79, the item discrimination between 0.33-0.79. The construct validity of the test by confirmatory factor analysis found that the indicator measuring level of congruence between model and empirical data: the (x2) value was 710.3, the ( x2/ df) value was 1.76, the GIF value was 0.97, the AGFI was 0.96 and the RMSEA value was 0.04. The whole test reliability was 0.90.
2. The norm as Normalized T-score of the Analytical Thinking Test on Mathematic for Prathomseksa 5 was between T32 to T68. This result indicated that the students’ analytical thinking ability on mathematic was wide range from low to very high. Most of the simple group, 150 students ( 40.32%), were at high level of analytical thinking ability on mathematic.
Article Details
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์