ความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชีและคุณภาพรายงานทางการเงินที่ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชี และคุณภาพรายงานทางการเงินที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม จากผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทย จำนวน 186 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัย พบว่า 1) ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง อายุ 30 - 35 ปี ระดับการศึกษาสูงกว่าปริญญาตรี ประสบการณ์ทำงาน 5 - 10 ปี รายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 50,000 บาท จำนวนกิจการที่รับตรวจในแต่ละปี น้อยกว่า 50 แห่ง และการเข้าร่วมอบรมสัมมนาที่เกี่ยวข้องกับการสอบบัญชีส่วนใหญ่ 1 – 2 ครั้งต่อปี 2) มีความคิดเห็นเกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตอยู่ในระดับมาก 3) มีความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณภาพรายงานทางการเงินของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตอยู่ในระดับมาก 4) มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในประเทศไทยอยู่ในระดับมากที่สุด5) ความน่าเชื่อถือในการสอบบัญชี ด้านความเป็นมืออาชีพ ด้านศักยภาพในการสอบบัญชี และด้านจรรยาบรรณของผู้สอบบัญชี มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 6) คุณภาพรายงานทางการเงิน ด้านความสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ และด้านความสามารถเข้าใจได้ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐที่มีผลต่อประสิทธิภาพงานบัญชีของสำนักงานอัยการสูงสุด. วารสารนักบริหาร. ปีที่
39. ฉบับที่ 2 : กรกฎาคม – ธันวาคม 2562.
ณัฐวุฒิ ตันติเศรษฐ (2558). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของงบการเงินและประสิทธิผลในการตัดสินใจของบริษัทที่จด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจศรีนคริทรวิโรฒ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.ดารณี เอื้อชนะจิต. (2554). ผลกระทบของคุณภาพ ข้อมูลทางบัญชี และลักษณะองค์กรธุรกิจที่มี ต่อประสิทธิภาพการ
ตัดสินใจของผู้บริหารใน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. วิทยานิพนธ์. ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
(การบัญชี). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
นิพันธ์ เห็นโชคชัยชนะและศิลปพร ศรีจั่นเพชร. 2559. การสอบบัญชี. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ที พี เอ็น เพรส
นิลุบล คงไมตรี และคณะคณะ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบทางการบัญชีกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
ของนักบัญชีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์วิทยานิพนธ์.บช.ม. (การบัญชี). มหาสารคาม :
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นลพรรณ บุญฤทธิ์. (2558 ). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริการส่วนจังหวัดชลบุรี.
วิทยานิพนธ์ : มหาวิทยาลัยบูรพา : ชลบุรี
นวพร ขู้เปี้ยเต้ง และจันทร์ลอย เลขทิพย์. 2561. ความรู้ความสามารถที่มผี ลกระทบต่อคุณภาพการตรวจสอบและรับรอง
บัญชีของผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย (ในมุมมองของผู้รับการตรวจสอบ). วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลง
กรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. ปีที่ 13. ฉบับที่ 2 : เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2561.
เปมรินทร์ ฮ้อปิยะกุล. (2558 ). ความสัมพันธ์ระหว่างความน่าเชื่อถือของสารสนเทศทางการบัญชีกับประสิทธิภาพการ
ตัดสินใจของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ปุณยนุช ปิ่นกุมภีร์ และกนกศักดิ์ สุขวัฒนาสินิทธิ์. 2560. การควบคุมคุณภาพสำนักงานสอบบัญชีในประเทศ ก้าวสู้มาตรฐาน
การบริหารคุณภาพ ระหว่างประเทศ (ISQM1). วารสารวิชาการวิทยาลัยสันตพล. ปีที่ 6. ฉบับที่ 2 : กรกฏาคม -
ธันวาคม 2563
พรทรัพย์ ฉัตรศิริกุล. 2561. การเปิดรับ ความน่าเชื่อถือของรายการโฮมช็อปปิ้งในทีวีดิจิทัลและการตัดสินใจซื้อของ
ผู้บริโภค. วิทยานิพนธ์.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพมหานคร.
เพ็ญจันทร์ ตะภา. 2556. ผลกระทบของกลยุทธ์การเลือกตัวอย่างการสอบบัญชีที่มีต่อคุณภาพการสอบบัญชีของ
ผู้สอบบัญชีภาษีอากรในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม : มหาสารคาม
ศิรินภา อันทรง, พร้อมพร ภูวดิน และสมใจ บุญหมื่นไวย. 2562. ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพงานสอบบัญชี
ภาษีอากรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6
ประจำปี พ.ศ. 2562. วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562. วิทยาลัยลัยนครราชสีมา : นครราชสีมา
อมร โททำ. 2559. ความสัมพันธ์ระหว่างวิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดในการตรวจสอบภายในกับประสิทธิผลการดำเนินงานของ
หน่วยงานตรวจสอบภายในสังกัดสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย. รายงานวิจัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม. ทุนสนับสนุนมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
อุมาวดี เดชธำรงค์, และนารีรัตน์ ภักดีศิริวงษ์. 2561. ผลกระทบของคุณภาพรายงานทางการเงินที่มีต่อความ
ได้เปรียบในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย.
วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, ปีที่8. ฉบับ 1, หน้า 1-9.
Hair, J. F. Jr. Black, W. C., Babin, B. J. Anderson, R. E. and Tatham, R. L. 2006. Multivariate data
analysis. (6th ed). New Jersey: Prentice Hall
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of
criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.