ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำ เร็จของวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา ผู้ผลิตผ้าไหมมัดหมี่บ้านหัวสะพาน ตำบลบ้านยาง อำ เภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำ เร็จของวิสาหกิจ กรณีศึกษาผู้ผลิต
ผ้าไหมมัดหมี่หมู่บ้านหัวสะพาน ตำ บลบ้านยาง อำ เภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์เป็นการวิจัยประยุกต์
โดยการเก็บข้อมูลจากผู้ผลิตผ้าไหมมัดหมี่จำ นวน 230 คน การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่อง
มือที่ใช้ในการวิจัยเป็นครั้งนี้เป็นแบบสอบถามตัวเลือก 5 ระดับซึ่งได้การทดสอบความเที่ยงตรงและ
ความเชื่อมั่นตามระเบียบวิธีวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติเชิงพรรณนา การ
วิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอย ผลการวิจัยพบว่า 1) นโยบายรัฐมีความสัมพันธ์
เชิงบวกต่อการมีชื่อเสียงของวิสาหกิจชุมชนอย่างมีนัยสำคัญระดับ 0.01 2) ความเป็นเอกลักษณ์มี
ความสัมพันธ์เชิงบวกต่อการมีชื่อเสียงของวิสาหกิจชุมชนอย่างมีนัยสำคัญระดับ 0.01ผลการศึกษานี้
เพื่อเป็นแนวทางของหน่วยงานรัฐที่จะนำ ไปส่งเสริมด้านความรู้ในการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนผู้ผลิตผ้า
ไหมมัดหมี่ของจังหวัดบุรีรัมย์ในพื้นที่อื่น
Article Details
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
http://qsds.go.th/newqsds/inside_page.php?pageid=10
ณัฐธิดา ศิริวรเวทย์. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำ เร็จ ประเภทผ้าไหมทอยกดอก กรณีศึกษา
กลุ่มสตรีทอผ้าไหมไทยอัญชลี ตำ บลเตาปูน อำ เภอสอง จังหวัดแพร่.คณะเศรษฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รพีพรรณ พงษ์อินทร์วงศ์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีชื่อเสียงของวิสาหกิจชุมชน กรณีศึกษา
ผู้ผลิตผ้าไหมมัดหมี่จังหวัดบุรีรัมย์. การประชุมวิชาการระดับชาติ“ราชภัฏศรีสะเกษ
วิชาการครั้งที่ 2 ”.
ศิรประภา ศิรินูและ คณะ. (2550). กลยุทธ์การประกอบการผลิตภัณฑ์ผ้าไหมในจังหวัดบุรีรัมย์.
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สุภาพร พรหมนิยม. (2542). ปัจจัยนำ เข้าไปสู่ความสำ เร็จในธุรกิจการทอผ้าไหมมัดหมี่ของ
กลุ่มสตรีและผลกระทบต่อชุมชนชนบท : กรณีศึกษาตำ บลนาโพธิ์ อำ เภอนาโพธิ์
จังหวัดบุรีรัมย์. ส่วนวิจัยและพัฒนา สถาบันวัฒนธรรมศึกษา.
สำ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ค้นเมื่อ 5 เมษายน 2556, จาก
http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395
สาวิตรีอกนิษฐ์เสนีย์. (2556).การวิจัยเพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารการวิจัยชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1
Hair, Joseph F. and others. (2006). Multivariate Data Analysis. 6th ed. New Jersey :
Pearson Prentice Hall International, Inc.
Nunnally, C.and Bernstein, H.(1994).Psychometric Theory. New York, NY: McGraw-Hill