จริยธรรมในการให้บริการสาธารณะของไทย

Main Article Content

ผศ.ดร.สถาพร วิชัยรัมย์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


                บทความเรื่องจริยธรรมในการบริการสาธารณะ เป็นการอธิบายองค์ประกอบสำคัญในการบริการสาธารณะที่ต้องเกี่ยวข้องกับผู้ส่งมอบการบริการ สินค้าที่ให้บริการ และผู้รับบริการ โดยความเกี่ยวข้องระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการจะมีพันธกิริยาร่วมกันซึ่งได้แก่ประสิทธิภาพและคุณภาพของการให้บริการซึ่งผู้ให้บริการจะต้องมีจิตสำนึกด้านจริยธรรมและแสดงออกต่อผู้รับบริการโดยถ้วนหน้า การเป็นผู้มีจริยธรรมในการบริการที่ดีดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดคุณค่าของการให้บริการ และผลลัพธ์สุดท้ายของการจัดการภาครัฐที่ดีเกี่ยวกับการบริหารสาธารณะจะก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ประชาชนผู้รับบริการ

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic Paper)

References

คมเพชร ฉัตรศุภกุล. (2547). รายงานวิจัยเรื่อง การศึกษาและพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมของเด็กและ
เยาวชนไทย(ระดับมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
ชัยอนันต์ สมุทวณิช. (2533). รัฐกับสังคม: ไตรลักษณ์รัฐไทยในพหุสังคมสยาม. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2544). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและพัฒนาบุคคล. สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร์: โครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการ.
ธีรภัทร เสรีรังสรรค์. (2549). นักการเมือง: จริยธรรม ผลประโยชน์ทับซ้อน การคอรัปชั่น สภาพสาเหตุ
ผลกระทบ แนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: สายธาร.
_______. (2555). จริยธรรมในวิชาชีพรัฐกิจ หน่วยที่2 ในประสบการณ์วิชาชีพรัฐศาสตร์ (หน่วยที่
1-7). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นงลักษณ์ วิรัชชัย บุปผา เมฆทองคำและธีรวัฒน์ ฆะราช. (2551). การวิจัยนำร่องการใช้ตัวบ่งชี้คุณธรรม
จริยธรรมเพื่อพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์คุณธรรม.
นนทวัฒน์ บรมนันท์. (2552). หลักกฎหมายปกครองเกี่ยวกับการบริการสาธารณะ. กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
--------. (2553). กฎหมายปกครอง. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
ประยูร กาญจนดุล. (2547: 108). คำบรรยายกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
พัชรวรรณ นุชประยูร. (2559). หลักกฎหมายว่าด้วยการบริการสาธารณะ หน่วยที่ 3. ในหลัก
กฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิริพงษ์ ปานจันทร์. (2554). ประสิทธิผลในการบริหารงานของเทศบาลในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์
ดุษฎีบัณฑิต (สาขารัฐประศาสนศาสตร์). วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
สุพจน์ บุญวิเศษ. (2549). หลักรัฐศาสตร์. ชลบุรี: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
Bernstien, Samuel J. and Hara, Patrick O. (1979). Public Administration :
Organization, People and Public Policy. New York : Harper and Row.
F. M. Marx, (1959). Elements of Public Administration. Englewood Cliffs,
New Jersey : Prentice Hall.
Kurian Geoge Thomas. (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.
Millet, John D. (1954). Management in the Public Service : The Quest for Effective
Performance. New York : McGraw-Hill.
M.E.Dimack & G.O.Dimock. (1969). Public Administration.4thed. New York : Holt,
Rinehart and Winston.
Rawls John. (1971). A Theory of justice. Cambridge: The Belknap Press of Harvard University
Press.
Wikipedea.org/wiki/การกระจายอำนาจอย่างเป็นธรรม.สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2562