ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของหมู่บ้านท่องเที่ยวนวัตวิถี กรณีศึกษาบ้านใหม่ ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านผู้นำ ปัจจัยการมีส่วนร่วมและปัจจัยวัฒนธรรมชุมชนส่งผลต่อความสำเร็จของหมู่บ้านท่องเที่ยวนวัตวิถี บ้านใหม่ ตำบลสวายจีก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยได้แก่ผู้นำ กรรมการชุมชน จำนวน 5 คน และสมาชิกในชุมชน 350 คน การศึกษาใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงสัมภาษณ์ผู้นำและกรรมการชุมชน การใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลกับสมาชิกในชุมชน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์การถดถอย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยด้านผู้นำ ปัจจัยการมีส่วนร่วมและวัฒนธรรมชุมชนส่งผลเชิงบวกต่อความสำเร็จของหมู่บ้านท่องเที่ยวนวัตวิถี องค์ความรู้ด้านการนำเทคโนโลยีสารสนทเทศมาใช้ในการบริหารงานชุมชน การมีจิตสำนึกต่อและตระหนักชุมชนโดยการมีส่วนของสมาชิกในชุมชนวัฒนธรรมชุมชนทำให้ชุมชนดำเนินงานประสบความสำเร็จได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภายนอก
Article Details
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์
References
(SMEs) ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี .
ทศพร แก้วขวัญไกร (2561). การวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบความอยู่รอดการจัดการกลุ่มชุมชนทอผ้าไหม อำเภอบ้านด่าน จังหวัด
บุรีรัมย์. วารสารเศรษฐศาสตร์และกลยุทธ์การจัดการ. Journal of Economics and Management Strategy
ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม- ธันวาคม 2561.
นิภาภรณ์ จงวุฒิเวศย์, รังสรรค์ สิงหเลิศ และสมสงวน ปัสสาโก .(2553 ).ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจ
ชุมชน ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 : พฤษภาคม –
สิงหาคม 2553
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบเอ็ด
พ.ศ. 2560- 2564. กรุงเทพฯ. สำนักนายกรัฐมนตรี.
พระมหาอภิชาติ ธมฺมาภินนฺโท (งันลาโสม) และอาแว มะแส. (2559). มิติทางวัฒนธรรมของการพัฒนาสู่ความเข้มแข็งของชุมชน :
กรณีศึกษา ชุมชนบ้านหนองช้าง ตําบลหนองช้าง อําเภอสามชัย จังหวัดกาฬสินธุ์.วารสารบัณฑิตศึกษา : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสวนสุนันทา
ยุพาวดี สมบูรณกุล. (2555). ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กับการนำเทคโนโลยีประเภท อุตสาหกรรมสารสนเทศมาสนับสนุน
ระบบการจัดการวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมอุตสาหกรรมในภาคใต้. สารนิพนธ์ : สงขลาสมาร์ทพริ้น.
ลัดดาวัลย์ สําราญ.(2554).ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งของชุมชน กรณีศึกษา อําเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี.การประชุม
วิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้งที่ 1 (The 1 629 st RUSNC). 22 มิถุนายน 2559.
องค์การบริหารส่วนตำบลสวายจีก. (2561). ข้อมูลทั่วไป. ค้นเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2561 จาก
http://www.govesite.com/sawayjeek/content.php?mcid=20131216093232kTqF1O8
Nunnally, Jum C.and Bernstein,Ira H. (1994). Psychometric Theory. New York, NY: McGraw-Hill.