รูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิต สังกัดสำานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

Main Article Content

Somsiri Suraprasert
Sittiporn Niyomsrisomsak
Sompong Panhoon

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ คือ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา
อังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิต สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อทดสอบความสอดคล้องระหว่างรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2560 ของโรงเรียนสาธิต 13 แห่ง จากทุกภาคของประเทศ จำานวน 620 คน โดยมีตัวแปรที่ศึกษา 6
ตัวแปร คือ ลักษณะเฉพาะของนักเรียน การสนับสนุนของโรงเรียน สิ่งแวดล้อมทางบ้าน การสนับสนุน
จากเพื่อน พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้
โปรแกรม LISREL ในการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนอย่างมีนัยสำาคัญทางข้อมูลเชิงประจักษ์ดังนี้ χ2= 83.882, df = 68, p = 0.093, χ2/
df = 1.234, RMSEA = 0.019, NFI = 0.996, NNFI = 0.998, CFI = 0.999, RMR = 0.019,
SRMR = 0.019, GFI = 0.986 and AGFI = 0.961.
1. ผลการวิจัยโดยภาพรวม ของปัจจัยการสนับสนุนของโรงเรียนมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ
0.363 และส่งผลโดยตรงอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ระดับ
0.142 และในขณะเดียวกันส่งผลทางอ้อมไปยังปัจจัยลักษณะเฉพาะของนักเรียนและพฤติกรรมการ
เรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.221
2. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางบ้านมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.200 และ
ส่งผลทางอ้อมอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษผ่านไปยังปัจจัยลักษณะเฉพาะ
ของนักเรียนและปัจจัยพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.200
3. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยสนับสนุนของเพื่อน มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.173 และ
ส่งผลทางอ้อมอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษผ่านไปยังปัจจัยลักษณะเฉพาะ
ของนักเรียนและพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.173
4. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยลักษณะเฉพาะของนักเรียนมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.444
และส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ระดับ 0.388 ในขณะเดี่ยวกันส่งผลทางอ้อมผ่านไปยัง
ปัจจัยพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.056
5. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ
0.305 และส่งผลโดยตรงอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษที่ระดับ 0.305

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Paper)
Author Biography

Sittiporn Niyomsrisomsak, Ed.D. in Educational Administration, Asst.prof., Faculty of Education, Burapha University

การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ คือ เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษา
อังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิต สังกัดสำานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ และเพื่อทดสอบความสอดคล้องระหว่างรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2560 ของโรงเรียนสาธิต 13 แห่ง จากทุกภาคของประเทศ จำานวน 620 คน โดยมีตัวแปรที่ศึกษา 6
ตัวแปร คือ ลักษณะเฉพาะของนักเรียน การสนับสนุนของโรงเรียน สิ่งแวดล้อมทางบ้าน การสนับสนุน
จากเพื่อน พฤติกรรมการเรียนของนักเรียน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เครื่องมือที่ใช้ใน
การวิจัยคือแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้
โปรแกรม LISREL ในการวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดล
ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ
ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบของปัจจัยเชิงสาเหตุมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษ
ของนักเรียนอย่างมีนัยสำาคัญทางข้อมูลเชิงประจักษ์ดังนี้ χ2= 83.882, df = 68, p = 0.093, χ2/
df = 1.234, RMSEA = 0.019, NFI = 0.996, NNFI = 0.998, CFI = 0.999, RMR = 0.019,
SRMR = 0.019, GFI = 0.986 and AGFI = 0.961.
1. ผลการวิจัยโดยภาพรวม ของปัจจัยการสนับสนุนของโรงเรียนมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ
0.363 และส่งผลโดยตรงอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนที่ระดับ
0.142 และในขณะเดียวกันส่งผลทางอ้อมไปยังปัจจัยลักษณะเฉพาะของนักเรียนและพฤติกรรมการ
เรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.221
2. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยสิ่งแวดล้อมทางบ้านมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.200 และ
ส่งผลทางอ้อมอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษผ่านไปยังปัจจัยลักษณะเฉพาะ
ของนักเรียนและปัจจัยพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.200
3. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยสนับสนุนของเพื่อน มีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.173 และ
ส่งผลทางอ้อมอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษผ่านไปยังปัจจัยลักษณะเฉพาะ
ของนักเรียนและพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.173
4. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยลักษณะเฉพาะของนักเรียนมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.444
และส่งผลโดยตรงต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ระดับ 0.388 ในขณะเดี่ยวกันส่งผลทางอ้อมผ่านไปยัง
ปัจจัยพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนที่ระดับ 0.056
5. ผลการวิจัยโดยรวมของปัจจัยพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนมีนัยสำาคัญทางสถิติที่ระดับ
0.305 และส่งผลโดยตรงอย่างมีนัยสำาคัญต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษที่ระดับ 0.305

References

Alschuler, A. S. (1969). The effects of classroom structure on achievement motivation and
academic performance. Educational Technology, 9(8), 19-24.
Au, K. H. 1998. Social constructivism and the school literacy of students of divers
backgrounds. Journal of Literacy Research 30 (2): 297- 319.
Baker, D.A., Beckingham, K.M., Armstrong, J.D. (2007) Functional dissection of the neural
substrates for gravitaxic maze behavior in Drosophila melanogaster, J. Camp.
Neural, 501(5): 756-764.
Brown, B. (1990). Peer groups and peer cultures. In S. Feldman, & G. Elliot (Eds.), At the
Threshold: The Developing Adolescent (pp. 171-196). Cambridge, MA: Harvard
University Press.
Bogenschneider, K. (1997) Parental Involvement in Adolescent Schooling: A Proximal
Process with Transcontexual Validity. Journal of Marriage and the Family, 59,
718-733.
Candlin, C., & Mercer, N. (2001). English language teaching in its social context: A reader.
London: Routledge in association wih Macquaric University and the Open
University.
Choy, S. C. (2002). An investigation into the changes in perceptions and attitudes
towards learning English in a Malaysian college. International Conference.
Costa, A., A. Foucart, S. Hayakawa, M. Aparici, J. Apesteguia, J. Heafner, and B. Keysar,
2014. Your morals depend on language, PLOS ONE 9 (4) : 1-7. Retrieved from
http://psychology.uchicago.edu/people/faculty/MoralForeign.pdf
Crosnoe, R., Johnson, M. K., & Elder, G. H. (2004). Intergenerational bonding in school:
the Behavioral and contextual correlates of student-teacher relationships.
Sociology of Education, 77, 60-81.
Crystal, D. (1997). The Cambridge, UK: Cambridge encyclopedia of Language. Cambridge,
UK: Cambridge University Press.
Graddol, D. (2006). English next, London: The British Council.
Hair, J.F.J., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis
(7thed). Prentice Hall, Upper Saddle River, New Jersey.
Hartup, W. W., & Abecassis, M. (2002). Friends and enemies. In P. Smith & C. Hart (Eds.),
Blackwell handbook of childhood social development (pp. 285-306). Oxford:
Blackwell and Pam.
Hoy, W. K., & Miskel, C. G. (1996). Educational Administration, theory and practices.
New York: McGraw-Hill, Inc.
Joreskog, K.G. & Sorbom, D. (1993). LISREL 8: Structural Equation Modeling with the
SIMPLIS Command Language. Chicago: Scientifc Software International.
Khoo Steve, & Ainsley John (2005). Attitudes, intentions and participation. Longitudinal
Survey of Australia Youth, Australian Council for Educational Research,
Camberwell, Victory, Australia.
Lepper, M. R., Corpus, J. H., & Lyengar, S. S. (2005). Intrinsic and extrinsic motivational
orientations in the classroom: Age differences and academic correlates. Journal
of Educational Psychology, 97(2), 184-196.
National Center for Education Statistics (NCES). (1997). Father’s involvement in their
children’ s school. Washington, D. C.: U. S. Department of Education. National
Student Exchange Retrieved from: http://www.nse.org/. Offce for National
Standards and Quality Assessment, O-NET reports (2018). Retrieved June, 2018
from http://www.onesqua.or.th/onesqua/th/download/index.php.?
Strongh, J., Berg, C., & Meegan, S. (2001). Friendship and gender differences in task
and social interpretations of peer collaborative problem solving. Social
Development, 10, 1-22.
Vygotsky, L. S. 1987. Thinking and speech. In The collected works of L.S. Vygotsky,
Volume1: Problems of general psychology. Translated by N. Minick and edited
by R. W. Reiber And A.S. Carton, 39 – 285. New York: Plenum. (Orig. pub. 1934.)