การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา

Main Article Content

อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด

บทคัดย่อ

            การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษามีความสำาคัญเป็นอย่างยิ่ง สภา
ผู้แทนราษฎร ได้ศึกษาสภาพปัญหาและอุปสรรคด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ พบว่า นักเรียน
ไม่ตระหนักถึงความสำาคัญในการเรียนภาษาอังกฤษเท่าที่ควร นักเรียนส่วนมากมีความสามารถและ
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับอ่อนเมื่อเปรียบเทียบผลการสอบประเมินตามเกณฑ์มาตรฐาน
สากล จึงเป็นการสะท้อนภาพให้เห็นถึงการขาดประสิทธิผลในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่ผ่านมา
ปี พ.ศ. 2557 กระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศเรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของ
การเรียนรู้โดยเน้นการสื่อสาร (Communicative Language Teaching : CLT) (กระทรวงศึกษาธิการ,
2557) นอกจากนี้พบว่า ครูภาษาอังกฤษในไทยประสบปัญหาขาดแคลน 2Q คือ คุณภาพ (Quality)
และปริมาณ (Quantity ด้านคุณภาพ ครูไทยยุค 2018 ควรจะเป็น Smart English Teacher (คริส
โตเฟอร์ ไรท์, 2561) บทความวิชาการเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) นำาเสนอสภาพการณ์จริงของการ
จัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบัน:ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำาเร็จและความล้มเหลว2) นำาเสนอ
การจัดรูปแบบการจัดหลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา 3) นำาเสนอวิธีการจัดการเรียนสอน
ภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษา และ 4) นำาเสนอจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไป
ตามธรรมชาติของการเรียนรู้โดยเน้นการสื่อสาร สรุปผลสำาคัญ คือ
1) สามารถนำาข้อมูลสภาพการณ์จริงของการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในปัจจุบัน:
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำาเร็จและความล้มเหลว ไปประยุกต์ใช้ในองค์กร
2) สามารถเลือกรูปแบบการจัดหลักสูตรภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษาให้เหมาะสมกับ
สถานศึกษา ครูและนักเรียน
3) สามารถเลือกวิธีการจัดการเรียนสอนภาษาอังกฤษในระดับประถมศึกษาให้เหมาะสมกับ
สถานศึกษา ครูและนักเรียน
4) สามารถนำาจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้
โดยเน้นการสื่อสาร ไปจัดกิจกรรมที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic Paper)

References

กรมอาเซียน. (2555). ความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน. กรุงเทพฯ : กระทรวงการต่างประเทศ.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูป
การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ:
บริษัท จามจุรีโปรดักส์ จำากัด.
คริสโตเฟอร์ ไรท์. (2561).”ครูสอนภาษาอังกฤษ”...วิกฤตการศึกษาไทย? ค้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน
2561. จาก https://www.posttoday.com/politic/report/402500
ธีระพงษ์ ใจใหญ่. (2558). สภาพปัญหาและความต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1. ปริญญานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน).
อุตรดิตถ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
นิสัย แก้วแสนไชย. (2556). เอกสารการอบรมภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
นวพร ชลารักษ์ (2559). สภาพการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษของครูไทยระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6 ของโรงเรียนสังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำาพูน เขต 1. วารสาร
มหาวิทยาลัยฟาร์อีส เทอร์น ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน 2559 - มิถุนายน 2559.
ประนอม สุรัสวดี. ( 2534). ภาษาอังกฤษกับเด็กไทยในระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พัชรินทร์ สติมั่น. (2552). ปัญหาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของครูประถมศึกษาในอาเภอเมือง ำ
จังหวัดเพชรบูรณ์. ค้นคว้าอิสระ. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิชญาพร พรหมคำาบุตร. (2545). สภาพปัจจุบันและปัญหาในการใช้สื่อการสอนของครูผู้สอน
วิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนมัธยมศึกษา. สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3.
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุมิตรา อังวัฒนกุล.(2540). วิธีสอนภาษาอังกฤษ. พิมพ์ครั้งที่ 4 กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สรรเสริญ สุวรรณ์.(2530). การนำาเสนอแนวทางการนิเทศการสอนภาษาอังกฤษระดับประถมศึกษา
สังกัดสำานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2557). แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: บริษัท จามจุรีย์โปรดักส์ จำากัด.
อิชยา กองไชย. (2559). การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เครือข่ายอุเทนโนนตาล
อำาเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 กันยายน–ธันวาคม 2560.
อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง. (2545). สุดยอดพัฒนาการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ทบุคส์.
Byrne, D. (1980). English teaching perspectives. Longman.
Canal,M. & Swain,M. (1980). Theoretical Bases of Communicative Approaches to Second
Language Teaching and Testing. Applied Linguistics. I (1) · March 1980 with 41,567.
Dubin, F and Elite, O. (1991). Course Design Developing Program and Materials for
Language Learning Fitthprinting. Cambridge University Press.
Krahnke, k. (1987). Approaches to Syllabus Design for Foreign Language Teaching.
New York: Prentice Hall.
Kolb, D (1984). Experiential learning: Experience as the source of learning and
development. Englewood Cliffs : Prentice Hall.
Savignon, S.J. (1991). Communicative Language Teaching: State of the Art.
TESOL Quarterly. Vol. 25, No. 2 (Summer, 1991), pp. 261-277.
Shulman, L. (1987). Knowledge and Teaching: Foundations of the New Reform. Harvard
Educational Review. 57(1): 1-23.