ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์โดยดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณสำหรับประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นัก
ท่องเที่ยวจำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามซึ่งจะทำการสุ่มจำนวนตาม โค้วต้าประกอบ
ด้วย 1) นครราชสีมา 263 คน 2) ชัยภูมิ 40คน 3) บุรีรัมย์ 48 คนและ 4) สุรินทร์ 49 คน สำหรับการ
สุ่มตัวอย่างจะใช้วิธีการคัดเลือกแบบตามสะดวกแล้วนำมาทำการประมวลผลในขั้นตอนต่อไป
ผลการวจิ ยั พบวา่ ปจั จยั สว่ นบคุ คลทีส่ ง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจมาทอ่ งเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรมของนครชยั
บรุ นิ ทร์ดา้ นเพศ พบวา่ ไมแ่ ตกตา่ งกนั ดา้ นอายพุ บวา่ ผูที้ม่ อี ายุ ตำ่ กวา่ 30 ปี มกี ารตดั สนิ ใจมาทอ่ งเทีย่ ว
สูงกว่าผู้มีอายุ มากกว่า 50 ปี และผู้ที่มีอายุ 30 – 40 ปี มีการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงสูงกว่าผู้มีอายุ
มากกว่า 50 ปี ด้านสถานภาพครอบครัวผู้ที่มีสถานภาพครอบครัว หย่า มีการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิง
วัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์สูงกว่าผู้ที่มีสถานะสมรสและสถานะโสด และ 3) ผู้ที่มีสถานภาพครอบครัว
สมรส มีการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์ สูงกว่าผู้ที่มีสถานภาพครอบครัว
โสด ด้านระดับการศึกษาผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาตรี มีการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของ
นครชัยบุรินทร์ สูงกว่าผู้ที่มีการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ด้านอาชีพผู้ที่มีอาชีพพนักงาน
บริษัทเอกชนมีการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์ สูงกว่าผู้ที่เป็นข้าราชการหรือ
พนักงานรัฐวิสาหกิจและผู้ที่มีอาชีพผู้ประกอบการหรือเจ้าของกิจการ และข้าราชการหรือพนักงาน
รัฐวิสาหกิจมีการตัดสินใจมาท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของนครชัยบุรินทร์ สูงกว่าผู้ที่มีอาชีพผู้ประกอบ
การหรือเจ้าของกิจการ สำหรับด้านรายได้ต่อเดือน พบว่าไม่แตกต่างกัน ซึ่งนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่มา
โดยคณะทัวร์ คิดเป็นร้อยละ 25.5 และใช้จ่ายในการมาท่องเที่ยว ตํ่ากว่า 5,000 บาท คิดเป็นร้อยละ
30.5 วันที่นิยมมาท่องเที่ยวเป็นวันเสาร์-อาทิตย์ คิดเป็นร้อยละ 66.0 ซึ่งผู้ที่จะนำไปประยุกต์ใช้ต้องใช้
ในกิจกรรมของตนเองให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายสอดคล้องกับสถานการณ์เพื่อให้เกิด
ความมีประสิทธิผลมากที่สุดต่อไป
Abstract
This research aims to study personal factors that affect cultural tourism
decisions in Nakornchaiburin. This research was conducted using quantitative approach
by collecting questionnaires from 400 tourists, now will be called as samples. Number
of tourists was being selected randomly depended on following quotas: 1) 263 samples
were selected from Nakorn Ratchasima province, 2) 40 samples were selected from
Chaiyaphum province, 3) 48 samples were selected from Buriram province, and 4) 49
samples were selected from Surin province. Samples were randomly selected and
tested at tourists’ convenience, and then evaluation would be done in the next step.
The result showed that gender is not a factor that affects cultural tourism
decisions in Nakornchaiburin, there had been no differences. However, age factors do
affect tourism decisions. The results showed that people with the age under 30 years
old decided to travel more than those older than 50 years old and those aged between
30 – 40 years old decided to travel more than those older than 50 years old. Marital
status as one of the factors, those with divorced status decided to travel to the cultural
tourism sites in Nakornchaiburin than those who are single and married. Those with
married status decided to travel to the cultural tourism sites in Nakornchaiburin than
those who are single. Educational degree as one of the factors, those with Bachelor
degree decided to travel to the cultural tourism sites in Nakornchaiburin than those
with Master and Ph.D. degrees. Occupational factor as one of the factors, those who
work as employees in the companies decided to travel to the cultural tourism sites
in Nakornchaiburin than those who are government officers and business owners, and
those who work as government officers decided to travel to the cultural tourism sites
in Nakornchaiburin than those who are business owners. Monthly income as one of the
factors, the result showed no difference as 25.5% of tourists usually travelled with the
agencies and 30.5% spent less than THB 5,000 while travelling. Saturdays and Sundays
are the busiest days of the week, there are 66% of tourists visit on these days. The
relevant parties who would like to apply this study to their activities should consider
that the result is suitable with their objectives and goal. Nevertheless, it should be
consistent with any occurring events to ensure the best possible effectiveness.
Article Details
- ต้นฉบับที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ถือเป็นกรรมสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ห้ามนำข้อความทั้งหมดหรือบางส่วนไปพิมพ์ซ้ำเว้นเสียแต่ว่าจะได้รับอนุญาตจากมหาวิทยาลัยฯ เป็นลายลักษณ์อักษร
- เนื้อหาต้นฉบับที่ปรากฏในวารสารเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียน ทั้งนี้ไม่รวมความผิดพลาด อันเกิดจากเทคนิคการพิมพ์