จริยธรรมและหลักพุทธธรรมสำหรับผู้บริหารท้องถิ่น
Main Article Content
บทคัดย่อ
จริยธรรมและหลักพุทธธรรมมีความสัมพันธ์กับผู้บริหารท้องถิ่นในลักษณะที่เป็นกลไกกำกับและขับเคลื่อนการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เกิดธรรมาภิบาลได้ บทความวิชาการฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับจริยธรรมและหลักพุทธธรรมสำหรับ ผู้บริหารท้องถิ่นที่เหมาะสม ซึ่งจริยธรรมที่ผู้บริหารท้องถิ่นควรประพฤติปฏิบัติสามารถจำแนกได้เป็น ๓ หมวด ประกอบด้วย หมวดความประพฤติ หมวดความรู้และสติปัญญา และหมวดคุณธรรม ส่วนหลักธรรมพุทธศาสนาที่ผู้บริหารท้องถิ่นควรยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ ประกอบด้วย ๓ หลักธรรม คือ หลักพรหมวิหาร ๔ หลักสุจริตธรรม ๓ และหลักอธิปไตย ๓
Article Details
How to Cite
1.
บท
บทความวิชาการ
บทความนี้เป็นความคิดเห็นส่วนผู้แต่ง กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
References
กุลชัย โพธิ์นันท์. “ภาวะผู้นำเชิงพุทธตามหลักพรหมวิหาร ๔”. Journal of Roi Kaensarn Academi. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๕๙): ๑-๑๒.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ : สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๓๘.
บุญมี แท่นแก้ว. จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๓๙.
ประยงค์ แสนบุราณ. “หลักธรรมในการปกครองของพระพุทธศาสนา”. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ ๓๑ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๗): ๑๓๙-๑๕๘.
ประยูร กาญจนดุล. คำบรรยายกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระครูรัตนสุตากร (ปราโมทย์ ล่องแก้ว), พระมหานรินทร์ สุรปญฺโญ (เอมพันธ์) และพูนศักดิ์ กมล. “การพัฒนาการเมืองตามหลักพุทธธรรม”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๐ (ตุลาคม ๒๕๖๓): ๓๒-๔๓.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) และพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). “พรหมวิหาร ๔”. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=161 [๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒].
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
ศิริ พันธ์ทา. “หลักสุจริตธรรมกับการบริหารองค์การอย่างยั่งยืน”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๙): ๑-๖.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. ความรู้เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นและวัฒนธรรมทางการเมือง. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, ๒๕๖๒.
Brillantes, A. & Perante-Calina, L. “Leadership and Public Sector Reform in the Philippines”. Leadership and Public Sector Reform in Asia (Public Policy and Governance), ed. by E. Berman & E. Prasojo, (Bingley: Emerald Publishing, 2018): 151-178.
Elcock, H. Local government. 3rd Ed. New York: Routledge,1994.
Flynn, N. & Talbot, C. “Strategy and strategists in UK local government”. Journal of Management Development. Vol. 15 No. 2 (1996): 24-37.
Mickson, M. K. & Anlesinya, A. “Enhancing job satisfaction among local government servants in Ghana: The relative roles of diverse leadership behaviours. International Journal of Public Leadership. Vol.16 No.1 (2020): 1-16.
Prasojo, E. & Holidin, D. “Leadership and Public Sector Reform in Indonesia”. Leadership and Public Sector Reform in Asia (Public Policy and Governance), ed. by E. Berman & E. Prasojo, (Bingley: Emerald Publishing, 2018): 53-83.
Singer, P. “Ethics”. Encyclopedia Britannica. [online]. Source: https://www.britannica.com/topic/ethics-philosophy [2021, February 2].
Worrall, L., Collinge, C. & Bill, T. “Managing strategy in local government”. International Journal of Public Sector Management. Vol. 11 No. 6 (1998): 472-493.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน. ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคคล. กรุงเทพฯ : สถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ๒๕๓๘.
บุญมี แท่นแก้ว. จริยศาสตร์. กรุงเทพฯ: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์, ๒๕๓๙.
ประยงค์ แสนบุราณ. “หลักธรรมในการปกครองของพระพุทธศาสนา”. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ ๓๑ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๕๗): ๑๓๙-๑๕๘.
ประยูร กาญจนดุล. คำบรรยายกฎหมายปกครอง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๓๕.
พระครูรัตนสุตากร (ปราโมทย์ ล่องแก้ว), พระมหานรินทร์ สุรปญฺโญ (เอมพันธ์) และพูนศักดิ์ กมล. “การพัฒนาการเมืองตามหลักพุทธธรรม”. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑๐ (ตุลาคม ๒๕๖๓): ๓๒-๔๓.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) และพระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). “พรหมวิหาร ๔”. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://84000.org/tipitaka/dic/d_item.php?i=161 [๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒].
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔
ศิริ พันธ์ทา. “หลักสุจริตธรรมกับการบริหารองค์การอย่างยั่งยืน”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๕๙): ๑-๖.
สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. ความรู้เกี่ยวกับการปกครองส่วนท้องถิ่นและวัฒนธรรมทางการเมือง. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, ๒๕๖๒.
Brillantes, A. & Perante-Calina, L. “Leadership and Public Sector Reform in the Philippines”. Leadership and Public Sector Reform in Asia (Public Policy and Governance), ed. by E. Berman & E. Prasojo, (Bingley: Emerald Publishing, 2018): 151-178.
Elcock, H. Local government. 3rd Ed. New York: Routledge,1994.
Flynn, N. & Talbot, C. “Strategy and strategists in UK local government”. Journal of Management Development. Vol. 15 No. 2 (1996): 24-37.
Mickson, M. K. & Anlesinya, A. “Enhancing job satisfaction among local government servants in Ghana: The relative roles of diverse leadership behaviours. International Journal of Public Leadership. Vol.16 No.1 (2020): 1-16.
Prasojo, E. & Holidin, D. “Leadership and Public Sector Reform in Indonesia”. Leadership and Public Sector Reform in Asia (Public Policy and Governance), ed. by E. Berman & E. Prasojo, (Bingley: Emerald Publishing, 2018): 53-83.
Singer, P. “Ethics”. Encyclopedia Britannica. [online]. Source: https://www.britannica.com/topic/ethics-philosophy [2021, February 2].
Worrall, L., Collinge, C. & Bill, T. “Managing strategy in local government”. International Journal of Public Sector Management. Vol. 11 No. 6 (1998): 472-493.