พระปัญจวัคคีย์ในขณะที่ฟังปฐมเทศนาบวชเป็นพระภิกษุแล้วหรือยัง?
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มุ่งตอบข้อสงสัยที่ว่า ขณะที่ฟังปฐมเทศนาพระปัญจวัคคีย์บวชเป็นพระภิกษุหรือยัง ผลจากการศึกษาได้ข้อสรุปว่า ก่อนหน้าและขณะฟังปฐมเทศนา พระปัญจวัคคีย์ยังไม่ได้บวชเป็นพระภิกษุ มีสถานะเป็นฤาษี แต่การเรียกพระปัญจวัคคีย์ว่า “ภิกษุ” ทั้งก่อนและขณะที่ฟังปฐมเทศนานั้นเป็นคำบอกเล่าของพระอานนท์ครั้งปฐมสังคายนาโดยมีคำว่า “เอวํ เม สุตํ” เป็นหลักฐานยืนยัน ซึ่งผู้นิพนธ์งานวิชาการทางพระพุทธ ศาสนาตั้งแต่พระอรรถกถาจารย์จนถึงนักวิชาการปัจจุบันก็ยังคงใช้คำบาลีเรียกพระปัญจวัคคีย์ตามแบบที่พระอานนท์ได้กล่าวไว้ อีกนัยหนึ่งคำว่า “ภิกษุ” ที่ใช้เรียกพระปัญจวัคคีย์เป็นคำแสดงภาวะความเป็นภิกษุและการดำรงชีพด้วยการขออาหารจากผู้ที่มีจิตศรัทธา และคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาเถรวาททุกระดับกล่าวสรุปเป็นนัยเดียวกันว่า พระปัญจวัคคีย์บวชหลังจากฟังปฐมเทศนา ดังนั้น การที่ผู้นิพนธ์งานวิชาการทางพระพุทธ ศาสนาเรียกพระปัญจวัคคีย์ว่า “ภิกษุ” จึงเป็นการเรียกตามสถานภาพในปัจจุบัน หลักฐานที่ยืนข้อสรุปนี้ก็คือ พุทธศิลป์ตอนปฐมเทศนาที่แสดงสถานภาพเดิมของพระปัญจวัคคีย์ก่อนฟังปฐมเทศนาว่าเป็นฤาษีและสถานภาพหลังฟังปฐมเทศนาว่าเป็นพระภิกษุไว้คู่กัน
Article Details
บทความนี้เป็นความคิดเห็นส่วนผู้แต่ง กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป
References
โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๓.
พระมหาสมปอง มุทิโต. คัมภีรอภิธานวรรณนา. อุดรธานี: ศูนย์วิปัสสนากรรมฐาน วิหารธรรม, ๒๕๖๑.
พระราชปริยัติโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม). ปทรูปสิทธิ แปลโดยพยัญชนะ. ที่ระลึกในงานสมโภชสุพรรณบัฏพัดยศ
สมเด็จพระมหาธีราจารย์ (ฐฃานิสฺสรมหาเถร) เจ้าอาวาสชนะสงครามราชวรมหาวิหาร เจ้าคณะภาค
๑๓ เจ้าคณะใหญ่หนใต้ กรรมการมหาเถรสมาคม ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๖. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๖.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๑๔-๒๕๑๕.
______. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณาราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬา-
ลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
______. อรรถกถาภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาอฏฺฐฃกถา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๒.
______. ฎีกาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาฏีกา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิญญาณ, ๒๕๓๙.
วรณัย พงศาชลากร. ภาพสลัก “อาสาฬหปูรณมีบูชา” ที่เก่าแก่ที่สุดในพระเทศไทย. (๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑)
ค้นคืนจาก http://oknation.nationtv.tv/blog/voranai/๒๐๑๘/๐๗/๒๙/entry-๑/comment.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส. ปฐมสมโพธิ (ภาษาบาลี) ฉบับคัดลอกจากคัมภีร์ใบลาน
อักษรขอม. พิมพ์ประกาศเกียรติคุณสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมปรมานุชิตชิโนรส. กรุงเทพมหานคร:
สหธรรมิก, ๒๕๓๗.
หน่อแก้วพระพุทธศาสนา. วันอาสาฬหบูชา. (๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๐) ค้นคืนจากhttps://www.norkaew.
net/%E๐%B๒.html.
หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์ (ทวี ธรมธัช). ธาตุปฺปทีปิกา พจนานุกรม บาลี-ไทย แผนกธาตุ. พิมพ์ครั้งที่ ๕.
โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย, ๒๕๒๘.
Art of Redism. พระพุทธปฏิมาสยาม ๐๐๖: พระพุทธชินราช วโรวาทธรรมจักร อัครปฐมเทศนา
นราศภบพิตร. (ม.ป.ป.) ค้นคืนจาก http://artredism.blogspot.com/2011/04/blog-
post_5081.html.
Fieser, James and Powers, John. Scriptures of the World’s Religions. ๓rd ed.
Boston : McGraw Hill, ๒๐๐๘.
Narada Mahathera. The Buddha and His Teachings. Taiwan: Buddha Educational Foundation
Taipei, ๑๙๙๘. Retrieved from http://www.buddhanet.net/ebooks_s.htm.
Pategama Gnanarama. Essentials of Buddhism. Singapore: Buddhist and Pali College
of Singapore, ๒๐๐๐. Retrieved from http://www.buddhanet.net/ebooks_s.htm.
Tenzin Tharpa. Tibetan Buddhist Essentials: Volume Two. India: Monastic University, ๒๐๑๘.
U Ko Lay. Guide to Tipitaka. BUDDHANET’S Ebook LIBRARY: Buddrama Education
Association Ing, ม.ป.ป.. Retrieved from http://www.buddhanet.net/ebooks_s.htm.
Venerable Dr. W. Rahula. What the Buddha Taught. Bangkok: Haw Trai Foundation, ๒๕๓๓.